คลังเก็บป้ายกำกับ: โปรแกรม SPSS

การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ spss_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม หน้าละ 1.50 บาท_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม

รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม หน้าละ 1.50 บาท

นอกเหนือจากการรับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ หรือรับทำดุษฎีนิพนธ์ แบบครอบวงจร ทางบริษัทฯ เรายังมีบริการรับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม ไว้รองรับและอำนวยความสะดวกสบายให้แก่ผู้วิจัยอีกทางหนึ่ง

เพราะแบบสอบถามเป็นหนึ่งในเครื่องมือในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative data) ซึ่งการจะนำข้อมูลมาวิเคราะห์ผลการศึกษาได้นั้น ต้องแปลงข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบของตัวเลขเสียก่อน ถึงจะนำมาวิเคราะห์ผลได้  ซึ่งข้อมูลตัวเลขนั้นอาจจะเป็นค่าที่ต่อเนื่อง ค่าจำนวนเต็ม หรือเป็นค่าจำนวนนับก็ได้ แล้วแต่การออกแบบแบบสอบถามของผู้วิจัย 

เช่น จุดทศนิยม น้ำหนัก ส่วนสูง เพศ อายุ สถานภาพ รายได้เฉลี่ยต่อเดือน หรือแม้กระทั่งการแสดงความคิดเห็นในระดับต่างๆ ที่ผู้วิจัยมักเห็นอยู่เป็นประจำ ได้แก่ ระดับความคิดเห็นมากที่สุด ระดับความคิดเห็นมาก ระดับความคิดเห็นปานกลาง ระดับความคิดเห็นน้อย ระดับความคิดเห็นน้อยที่สุด หรือบางงานวิจัยอาจจะมากกว่า 5 ระดับความคิดเห็น

และ หนึ่งในบริการของบริษัทฯ คือการรับคีย์ข้อมูลแบบสอบถามดังกล่าว ซึ่งหากผู้วิจัยไม่มีความชำนาญ หรือมีภาระงานที่ต้องรับผิดรับชอบอาจจะทำให้คีย์ข้อมูลได้ช้า และผิดพลาดได้ 

การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ spss_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม หน้าละ 1.50 บาท_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม

ทางบริษัทฯ จึงมีบริการส่วนนี้ไว้คอยรองรับและดูแลท่านในส่วนนี้ เนื่องจากเรามีความเชี่ยวชาญและความชำนาญ ถือว่าเป็นบริการเสริมเพื่อทำให้งานวิจัยของท่านเสร็จได้อย่างรวดเร็วที่สุด ทันตามกำหนดเวลาที่จะส่งงานขึ้นสอน 

โดยผู้วิจัยที่สนใจในการใช้บริการรับคีย์ข้อมูลแบบสอบถามกับทางบริษัทฯ สามารถใช้บริการกับเราได้โดยติดต่อเข้ามาทางไลน์ที่ขึ้นด้านบน เมื่อตกลงรับงานท่านสามารถส่งแบบสอบถามมาให้เราทาง EMS เรามีทีมงานไว้คอยคีย์ข้อมูลตรงส่วนนี้ให้กับท่าน 

การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ spss_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม หน้าละ 1.50 บาท_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม

ดังนั้นสิ่งที่ท่านจะได้จากการนำแบบสอบถามมาคีย์ข้อมูลกับบริษัทฯ ทางทีมงานจะสำรองข้อมูลของท่านใส่ลงใน Excel เพื่อส่งให้กับท่านทางอีเมล ในการนำส่งอาจารย์ 

หรือหากท่านจะทำบท 4-5 ต่อเพื่อวิเคราะห์ผล สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอในงานวิจัย บริษัทฯ มีบริการส่วนนี้เพิ่มเติม บริษัทฯ สามารถนำข้อมูลส่วนนี้ไปวิเคราะห์ต่อได้เลยตามที่ท่านต้องการโดยไม่เสียเวลา และท่านจะได้รับงานเสร็จเร็ว ตรงเวลา แน่นอน

ช่องทางติดต่อ
Tel: 0924766638 คุณอาจุ้ย
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com

3 เทคนิคการออกแบบ แบบสอบถามลักษณะที่ดี!

การออกแบบ แบบสอบถามที่ดีได้นั้น นอกจากคุณจะได้คำตอบที่ตอบวัตถุประสงค์การวิจัยแล้ว ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ยังสามารถทราบพฤติกรรมของผู้ตอบแบบสอบถามได้อย่างชัดเจนขึ้น และนำผลการศึกษาไปปรับปรุงตามข้อเสนอแนะ หรือเป็นแนวทางในการทำการตลาดได้อีกด้วย

การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com

ด้วยเหตุนี้ ลักษณะแบบสอบถามที่ดีสามารถทำให้ผู้ตอบแบบสอบถามเข้าใจได้ง่าย และผู้วิจัยได้คำตอบที่ตรงกับคำถาม จะต้องการออกแบบ แบบสอบถามให้มีลักษณะ ดังนี้

1. ข้อคำถามต้องกระชับเข้าใจง่าย

ในการตั้งคำถามนั้น ข้อคำถามที่ดีผู้อ่านต้องอ่านแล้วเข้าใจได้เลย ซึ่งนี่ถือเป็นศิลปะอย่างหนึ่งของนักวิจัย ในการตั้งคำถาม เพราะคำถามที่ตั้งมานั้นจะต้องชัดเจน ไม่ถามกว้างเกินไป และไม่กำกวม เพราะจะทำให้ผู้ตอบเข้าใจผิด ส่งผลให้ไม่ตั้งใจตอบก็เป็นได้ 

เช่น ต้องการจะสอบถามพนักงานบริษัทแห่งหนึ่ง ว่ามีปัจจัยใดบ้างที่จะเป็นแรงผลักดันให้งานมีประสิทธิภาพมากขึ้น 

ซึ่งแรงจูงใจในการทำงานตามหลักทฤษฎีของ Herzberg ประกอบด้วย 2 ปัจจัย คือ ปัจจัยค้ำจุน และปัจจัยจูงใจ เป็นทฤษฎีที่สามารถจัดองค์ประกอบแรงจูงใจได้อย่างชัดเจนและครอบคลุมที่สุด เมื่อพนักงานเกิดความพึงพอใจในปัจจัย ต่างๆ เหล่านี้ ก็จะทำให้พวกเขาเกิดความตั้งใจและมุ่งมั่น เพื่อความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของบริษัทได้เป็นอย่างดี 

ดังนั้นผู้วิจัยอาจจะทำการตั้งคำถาม สอบถามพนักงานว่า 
– เงินเดือนที่ท่านได้รับเหมาะสมกับตำแหน่งงานที่ท่านได้รับหรือไม่? 
– บริษัทของท่านสนับสนุนให้ท่านแสดงออกความคิดเพื่อแก้ไขปัญหางานสำคัญหรือไม่? 
– หรือหัวหน้างานของท่านมีความยุติธรรมกับลูกน้องใต้บังคับชาหรือไม่? เป็นต้น 

จึงกล่าวได้ว่าหลักการตั้งคำถามที่ดีนั้น จะต้องสรุปได้ว่า ใคร ทำอะไร ที่ไหน และอย่างไร ถึงจะเป็นลักษณะคำถามที่ดี แต่จะมีนักวิจัยสักกี่คนที่ทำได้ดี เพราะการตั้งคำถามถือได้ว่าเป็นการศิลปะผสมกับจิตวิทยา โดยจะกล่าวในหัวข้อต่อไป

2. คำถามต้องตรงกับสถานการณ์ที่ผู้ตอบแบบสอบถามพบเจอ

ในการตั้งคำถามที่ดีนั้น จากโจทย์ข้างต้น หากตั้งคำถามที่ไม่ตรงกับสถานการณ์ที่พนักงานพบเจอผู้วิจัยจะไม่ได้คำตอบที่ชัดเจนเลย ผู้วิจัยควรศึกษาก่อนว่ากลุ่มตัวอย่างเป็นใคร ทำงานลักษณะไหน และบรรยากาศการทำงานเป็นอย่างไร หรืออาจจะต้องศึกษาเพิ่มเติมว่าบริษัทที่พนักงานทำงานอยู่นั้นขายผลิตภัณฑ์ เพื่อที่จะเข้าใจพฤติกรรมของเขาและตั้งคำถามให้ตรงกับสถานการณ์ที่พนักงานพบเจอ 

3. จำนวนหน้าของแบบสอบถามไม่เยอะจนเกินไป

ในจำนวนหน้าของแบบสอบถามหากเยอะเกินไป ผู้ตอบแบบสอบถามจะรู้สึกว่าเสียเวลา และเบื่อหน่าย จนทำให้ผลของข้อมูลที่ได้ไม่น่าเชื่อถือและน่าไว้วางใจ เพราะการตอบแบบสอบถามแต่ละครั้งส่วนใหญ่จะใช้เวลาประมาณ 20-25 นาที 

ดังนั้นจำนวนหน้าของแบบสอบถามที่เหมาะสมจึงไม่ควรเกิน 3 – 4 หน้ากระดาษ A4 หากจำนวนหน้าเยอะมากกว่านี้ ควรพิจารณาขอบข่ายการวิจัยหากข้อคำถามใดไม่ตรงกับวัตถุประสงค์ของการวิจัยจริงๆ ควรตัดรายการข้อคำถามทิ้ง ฉะนั้นผู้วิจัยจึงควรร่วมกันพิจารณาเรื่องเหล่านี้ด้วย

เมื่อทำการออกแบบ แบบสอบถามออกมาสมบูรณ์แล้วผู้วิจัยควรให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วน ว่ามีคำถามใดบ้างที่ควรแก้ไขให้ถูกต้องตามทฤษฎีหรือไม่ รวมทั้งตรวจดูว่าข้อคำถามดังกล่าวยากเกินไปสำหรับผู้ตอบระดับนี้หรือไม่ และเหมาะสมเพียงไร มีลักษณะเป็นคำถามชี้นำหรือไม่ 

อีกทั้งยังควรพิจารณาตรวจสอบด้วยข้อข้อคำถามนี้จะได้ประโยชน์อย่างไรบ้าง ถ้าไม่ถามจะขาดประโยชน์อย่างไรบ้าง รวมถึงตรวจดูการจัดหน้า เว้นวรรค และตัวสะกดการันต์ว่าถูกต้อง และเหมาะสมแล้วหรือไม่ เป็นต้น

วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_การวิเคราะห์ ANOVA

5 ขั้นตอนกับการวิเคราะห์ ANOVA

การวิเคราะห์ ANOVA คือ เทคนิคการวิเคราะห์ที่ใช้ทดสอบสมมติฐานของตัวแปรที่มากกว่า 2 กลุ่ม ขึ้นไป ซึ่งส่วนใหญ่ใช้ในการวิเคราะห์วิจัยเชิงปริมาณ 

บทความนี้จึงจะนำคุณมาสู่ 5 ขั้นตอนในการเริ่มต้นวิเคราะห์ ANOVA ดังนี้

1. การตั้งสมมติฐาน

การตั้งสมมติฐานเป็นส่วนหนึ่งของการอธิบายผลที่ต้องการจะศึกษา เนื่องมาจากการตั้งสมมติฐานต้องคาดคะเนคำตอบ อย่างมีเหตุมีผล โดยจะต้อง ระบุให้ชัดเจนว่าอะไรสัมพันธ์กับอะไร สัมพันธ์กันอย่างไร หรืออะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นผล เนื่องจากสมมติฐานเป็นข้อยืนยัน เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรสองตัวหรือเกินกว่านั้น ดังนั้นการวิเคราะห์ ANOVA จึงมีสูตรการตั้งสมมติฐานดังนี้

ตัวอย่างการตั้งสมมติฐาน

– ความถี่ในการสูบบุหรี่ ที่แตกต่างกัน ส่งผลต่อการเป็นโรคมะเร็งปอด แตกต่างกัน สามารถเขียนสมมติฐานได้ดังนี้

H0 : ความถี่ในการสูบบุหรี่ ที่แตกต่างกัน ส่งผลต่อการเป็นโรคมะเร็งปอด  
H1 : ความถี่ในการสูบบุหรี่ ที่แตกต่างกัน ไม่ส่งผลต่อการเป็นโรคมะเร็งปอด  

– อายุของผู้บริโภคที่แตกต่างกัน ส่งผลต่อการซื้อกระเป๋าแบรนด์เนม แตกต่างกัน สามารถเขียนสมมติฐานได้ดังนี้

H0 : อายุของผู้บริโภคที่แตกต่างกัน ส่งผลต่อการซื้อกระเป๋าแบรนด์เนม แตกต่างกัน
H1 : อายุของผู้บริโภคที่แตกต่างกัน ส่งผลต่อการซื้อกระเป๋าแบรนด์เนม ไม่แตกต่างกัน

2. กำหนดระดับนัยสำคัญ

เมื่อตั้งสมมติฐานได้แล้ว  สิ่งที่จะสามารถบอกถึงความเป็นไปได้ของผลที่กำลังศึกษาได้ ก็คือระดับนัยสำคัญถ้าสมมติฐานหลักเป็นความจริง ระดับนัยสำคัญมักมีค่าน้อยกว่า 0.05 เสมอ

ดังนั้นระดับนัยสำคัญ มักตั้งไว้ที่ 0.05 ซึ่งหมายถึง ความเป็นไปได้ของข้อมูลที่จะเป็นความจริง หากระดับนัยสำคัญต่ำกว่า 0.01 นั่นหมายความว่า ความเป็นไปได้ของข้อมูลที่จะเป็นความจริงมีมากขึ้น นั่นเอง

แต่กระนั้นระดับนัยสำคัญที่ 0.05 ถือว่าเป็นสิ่งที่สามารถยอมรับได้แล้ว

3. เลือกวิธีการทางสถิติ

ต่อมาคุณจะต้องเลือกวิธีการสถิติเพื่อทำการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยรายคู่ โดยส่วนใหญ่จะใช้การเปรียบเทียบพหุคูณ (Multiple comparison test) ตามวิธีของเชฟเฟ่ (Scheffe’s method) หรือการทดสอบ HSD ของทูกีย์ (Tukey’s HSD test) หรือ วิธีของนิวแมนคูลส์ (Newman Keuls method) 

ซึ่งเคยกล่าวไว้ในบทความก่อนหน้านี้ ซึ่งการทดสอบค่าเฉลี่ยรายคู่ที่นิยมมากที่สุดก็คือ วิธีของเชฟเฟ่ (Scheffe’s method) นั่นเอง 

4. หาค่า Sig. หรือค่า P-Value

ค่า Sig. หรือบางมหาลัยเรียก ค่า P-Value เป็นตัวเลขที่จะบอกว่าตัวแปรต้นส่งผลต่อตัวแปรตามหรือไม่ หากค่า Sig. ต่ำกว่า 0.05 แสดงว่าตัวแปรต้นส่งผลต่อตัวแปรตาม ตรงกันข้าม หากค่า Sig. มากกว่า 0.05 แสดงว่า ตัวแปรต้นไม่ส่งผลต่อตัวแปรตามเช่นกัน ซึ่งผลการวิเคราะห์สามารถศึกษาได้จากหัวข้อต่อไป

5. วิเคราะห์ผลและสรุป

จากตัวอย่างการตั้งสมมติฐานข้างต้น สามารถวิเคราะห์ผลและสรุปผลได้ดังนี้

– ความถี่ในการสูบบุหรี่ ที่แตกต่างกัน ส่งผลต่อการเป็นโรคมะเร็งปอด แตกต่างกัน

หากค่า Sig. มีระดับนัยสำคัญต่ำกว่า 0.05 แสดงว่า ยอมรับสมมติฐาน H0 ปฏิเสธสมมติฐาน H1 นั่นหมายความว่า ความถี่ในการสูบบุหรี่ ที่แตกต่างกัน ส่งผลต่อการเป็นโรคมะเร็งปอด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

– อายุของผู้บริโภคที่แตกต่างกัน ส่งผลต่อการซื้อกระเป๋าแบรนด์เนม แตกต่างกัน

หากค่า Sig. มีระดับนัยสำคัญมากกว่า 0.05 แสดงว่า ยอมรับสมมติฐาน H1 ปฏิเสธสมมติฐาน H0 นั่นหมายความว่า อายุของผู้บริโภคที่แตกต่างกัน ส่งผลต่อการซื้อกระเป๋าแบรนด์เนม ไม่แตกต่างกัน 

จะเห็นได้ว่าการวิเคราะห์ ANOVA คงไม่ใช่เรื่องยากอีกต่อไปหากคุณได้เทคนิคดีๆ จากบริษัทเรา

ช่องทางติดต่อ
Tel: 0924766638 คุณอาจุ้ย
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ Thesis (ธีสิส)_การทำธีสิส_การทำทีสิส_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม

ข้อคำถามเด็ดโดนใจ ในการสร้างแบบสอบถามความพึงพอใจ

แบบสอบถามความพึงพอใจ ส่วนใหญ่เป็นการสอบถามพฤติกรรมของผู้บริโภค ว่ามีการใช้ผลิตภัณฑ์อย่างไร มีการสืบค้นข้อมูลในการซื้อผลิตภัณฑ์อย่างไร มีความถี่ในการใช้ผลิตภัณฑ์อย่างไร และใครเป็นผู้มีอิทธิพลในการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์นั้น 

เนื่องจากทุกๆ พฤติกรรมของผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลงไป ไม่ว่าจะเป็นการสื่อสาร สังคม หรือเทคโนโลยี ในปัจจุบันจะส่งผลให้เกิดความพึงพอใจในผลิตภัณฑ์ทั้งสิ้น

ดังนั้น ผู้ประกอบการหรือผู้วิจัยหลายท่านจึงต้องวิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริโภค เพื่อทราบความพึงพอใจในการนำข้อมูลมาปรับปรุง เปลี่ยนแปลงผลิตภัณฑ์ ให้ตอบสนองต่อความต้องการของผู้บริโภคมากที่สุด 

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ Thesis (ธีสิส)_การทำธีสิส_การทำทีสิส_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม

ทฤษฎี 6W1H เป็นหนึ่งในการนำมาวิเคราะห์พฤติกรรมของผู้บริโภค ในบทความนี้ เราจะนำคุณไปสู่การตั้งข้อคำถามเด็ดโดนใจ ตามทฤษฎีการสร้างแบบสอบถามความพึงพอใจ เพื่อวิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริโภคที่ส่งผลต่อความพึงพอใจ โดยใช้ทฤษฎี  6W1H ซึ่งจะต้องถามด้วยคำถามต่อไปนี้

1. Who

ข้อคำถามนี้จะตอบได้ว่าผู้บริโภคจริงๆ ของธุรกิจคือใคร เช่น

– ท่านมีเพศอะไร?
– ท่านมีอายุอยู่ในเจนเนอเรชั่นไหน?
– ท่านทำอาชีพอะไร?
– ท่านมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนเท่าไร?
– ท่านจบการศึกษาชั้นไหน?

2. What 

ข้อคำถามนี้จะตอบได้ว่าอะไรคือสิ่งที่ผู้บริโภคต้องการซื้อ เช่น

– ท่านชอบใส่ชุดออกกำลังกายยี่ห้ออะไร?
– สื่อสังคมออนไลน์ใด ที่ทำให้ท่านได้ข้อมูลในการตัดสินใจซื้อสินค้า?
– ท่านใส่เสื้อผ้าไซต์อะไร?
– ท่านชอบใส่เสื้อผ้าสไตส์ไหน?
– ท่านชอบชุดออกกำลัยกายที่มีลักษณะอย่างไร?

3. Where 

ข้อคำถามนี้จะตอบได้ว่าผู้บริโภคซื้อสินค้าของเราจากที่ไหนบ้าง เช่น

– ท่านซื้ออาหารที่ไหนบ้าง?
– ท่านออกกำลังกายที่ไหน?
– ท่านชอบช้อปปิ้งห้างไหน?
– ท่านอยากไปฮันนีมูนที่ไหน?
– ท่านชอบไปเที่ยวประเทศไหน?

4. When 

ข้อคำถามนี้จะตอบได้ว่าส่วนใหญ่ผู้บริโภคจะซื้อสินค้าของเราเมื่อไหร่ เวลาไหน เช่น

– ท่านใช้บริการ FOOD PANDA ในการสั่งซื้ออาหารส่วนใหญ่เวลากี่โมง?
– ท่านซื้อสินค้าออนไลน์เวลาไหน?
– ท่านเข้างานเวลากี่โมง?
– ท่านเลิกงานเวลากี่โมง?
– ท่าน ดู YouTube เวลาไหน?

5. Why 

ข้อคำถามนี้จะตอบได้ว่าทำไมผู้บริโภคถึงตัดสินใจซื้อสินค้าหรือบริการ เช่น

– เหตุใดท่านถึงชอบซื้อสินค้าออนไลน์?
– ทำไมท่านถึงเลือกซื้อหมอนยางพารา?
– ทำไมท่านเลือกใช้บริการธนาคารกสิกรไทย?
– ทำไมท่านถึงเลือกให้บุตรหลานเรียนภาษาจีนเพิ่มเติม?
– ทำไมท่านถึงเลือกซื้อสินค้าออนไลน์ผ่านแอพพลิเคชั่น LAZADA?

6. Whom 

ข้อคำถามนี้จะตอบได้ว่าใครมีอิทธิพลในการตัดสินใจในการซื้อ ของผู้บริโภคบ้าง เช่น

– ใครที่มีอิทธิพลในการตัดสินใจซื้อเสื้อผ้าของท่าน?
– ใครที่มีอิทธิพลในการตัดสินใจให้ท่านอ่านหนังสือ?
– ใครที่มีอิทธิพลในการทำช่อง YouTube ของท่าน?
– ท่านมีแบบอย่างมาจากใครในการใช้ชีวิต?
– ใครเป็นแรงบันดาลใจในการทำธุรกิจจองท่าน?

7. How 

ข้อคำถามนี้จะตอบได้ว่าผู้บริโภคซื้อสินค้าอย่างไรบ้าง เช่น

– ท่านซื้อสินออนไลน์ผ่านแอพพลิเคชั่นใดบ้าง?
– ส่วนใหญ่ท่านเรียกแท็กซี่ผ่านแอพพลิเคชั่น Grab อย่างไร?
– ท่านซื้ออาหารสุขภาพอย่างไร?
– ท่านเลือกชำระสินค้าอย่างไรในการซื้อสินค้าออนไลน์?
– ก่อนซื้อตั๋วเครื่องบินท่านหาข้อมูลอย่างไรบ้าง

จากข้อคำถาม 6W1H คุณจะรู้ได้เลยว่า ผู้บริโภคคือใคร ซื้อสินค้าอะไรบ้าง ซื้อจากที่ไหนบ้าง ซื้อเมื่อไหร่ ทำไมถึงซื้อ ตัดสิใจซื้อจากใคร และซื้ออย่างไร

ซึ่งเป็นประโยชน์อย่างมากในการสร้างแบบสอบถามความพึงพอใจ สำหรับผู้ประกอบการทั้งหลายที่จะทราบว่าพฤติกรรมของผู้บริโภคที่ซื้อสินค้าของท่านมีลักษณะอย่างไร เพื่อที่จะได้ทำการตลาดให้ตอบสนองความพึงพอใจผู้บริโภคให้ได้มากที่สุด 

ดังคำสุภาษิตที่ว่า “รู้เขา รู้เรา รบร้อยครั้ง ชนะร้อยครั้ง”

ช่องทางติดต่อ
Tel: 0924766638 คุณอาจุ้ย
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

เขียนเค้าโครงวิทยานิพนธ์_อาจารย์ที่ปรึกษา ปัญหา_อาจารย์ที่ปรึกวิจัย_บริการจ้างทำวิทยานิพนธ์_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_การทำงานวิทยานิพนธ์_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย_งานวิทยานิพนธ์_จ้างทําวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_หัวข้อวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_การเขียน Proposal งานวิจัย_การเขียนโครงร่างงานวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ Thesis (ธีสิส)_การทำธีสิส_การทำทีสิส_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA

ระหว่างกลุ่ม กับ ภายในกลุ่ม สำหรับการวิเคราะห์ ANOVA คืออะไร?

การวิเคราะห์ ANOVA นั้น คือการเปรียบเทียบตัวแปรที่มากกว่า 2 กลุ่มดังนั้นการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระหว่างตัวแปรหลายๆ กลุ่ม จึงมีความแปรปรวนที่ต้องคำนวณอยู่ 2 ตัว คือ ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม และความแปรปรวนภายในกลุ่ม

หลักในการทดสอบความแปรปรวนของ ANOVA จึงแบ่งความแปรปรวนของข้อมูลออกตามสาเหตุที่ทำให้ข้อมูลนั้นแตกต่างกัน จึงมีสูตรว่า

ความแปรปรวนทั้งหมด = ความแปรปรวนภายในกลุ่ม + ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม

ดังนั้นความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม กับภายในกลุ่มจึงแตกต่างกันดังนี้

1. ระหว่างกลุ่ม (Between groups) 

เป็นความแปรปรวนที่สามารถอธิบายได้ด้วยตัวแปรที่ศึกษา เช่น อายุ สถานภาพ อาชีพ ระดับการศึกษา รายได้ เป็นต้น หากความแปรปวนระหว่างกลุ่ม มีค่าเฉลี่ยของกลุ่มต่างๆ สูง สังเกตุที่ค่า  Mean Square (MS) แสดงว่าแต่ละกลุ่มมีความแตกต่างกันมาก

2. ภายในกลุ่ม (Within groups) 

เป็นความแปรปรวนตามธรรมชาติที่ไม่สามารถอธิบายได้ด้วยตัวแปรใดๆ หากมีค่าเฉลี่ยน้อย แสดงว่า ข้อมูลมีความกระจุกตัว หากมีค่าเฉลี่ยสูงแสดงว่าข้อมูลในกลุ่มมีการกระจายตัวมาก หรืออาจจะหมายถึงค่าข้อมูลที่มีความคลาดเคลื่อนมากเช่นกัน

ตัวอย่างเช่น กลุ่มอายุใด ที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อเสื้อผ้าแฟชั่น?

เขียนเค้าโครงวิทยานิพนธ์_อาจารย์ที่ปรึกษา ปัญหา_อาจารย์ที่ปรึกวิจัย_บริการจ้างทำวิทยานิพนธ์_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_การทำงานวิทยานิพนธ์_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย_งานวิทยานิพนธ์_จ้างทําวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_หัวข้อวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_การเขียน Proposal งานวิจัย_การเขียนโครงร่างงานวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ Thesis (ธีสิส)_การทำธีสิส_การทำทีสิส_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA
รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์

จากรูปจะเห็นได้ว่า โจทย์ต้องการทราบว่า กลุ่มอายุไหนที่ส่งผลต่อความแปรปรวนในการตัดสินใจซื้อเสื้อผ้าแฟชั่น 

ดังนั้น ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม จะตอบได้ว่าในแต่ละช่วงอายุ มีการตัดสินใจซื้อเสื้อแฟชั่น จำนวนเท่าไหร่

ส่วน ความแปรปรวนภายในกลุ่ม จะตอบได้ว่า กลุ่มอายุใดมีการตัดสินใจซื้อเสื้อผ้าแฟชั่นแบบกระจุกตัวหรือกระจายตัว หากการตัดสินใจเป็นแบบกระจุกตัว สิ่งนี้จะทำให้ผู้วิจัยทราบว่าสินค้านั้นอาจจะเป็นสินค้าที่กำลังมีกระแสอยู่ ณ ตอนนั้น 

เช่น กระแสเสื้อผ้าแฟชั่นที่วง K-POP ใส่อยู่ โดยกลุ่มผู้บริโภคดังกล่าว จะมีการตัดสินใจไปในแนวทางเดียวกัน หากการตัดสินใจซื้อ มีการตอบแบบกระจายตัว เช่นตอบมากที่สุดบ้าง มากบ้าง ปานกลางบ้าง น้อยบ้าง แสดงว่าการตัดสินใจซื้อเสื้อผ้าแฟชั่นนั้น อาจจะเป็นสินค้าเฉพาะกลุ่ม เช่น เสื้อผ้าแนวโบฮีเมียน ซึ่งการตัดสินใจจะขึ้นอยู่ความชอบของแต่ละคน

จากข้อมูลดังกล่าวผู้ประกอบการจะได้ประโยชน์เป็นอย่างมาก ในการทำการตลาดให้ตรงกลุ่มเป้าหมาย ตามคำกล่าวที่ว่า “น้ำขึ้นให้รีบตัก” หากสินค้าแฟชั่นใดมีการตัดสินใจแบบกระจุกตัว แสดงว่าสินค้านั้นกำลังได้รับความนิยมต้องรีบทำการตลาด เพื่อให้สินค้าปล่อยออกได้เร็วที่สุด เพราะสินค้าดังกล่าวมาตามกระแส มาเร็วและไปเร็ว 

ดังนั้นความแตกต่างของระหว่างกลุ่มกับภายในกลุ่มจึงแตกต่างกันแต่ 2 กระบวนการต้องทำงานร่วมกันเพื่อให้ได้คำตอบ นั่นเอง

ช่องทางติดต่อ รับทำวิจัย
Tel: 0924766638
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

สแกนคิวอาร์โค้ด
เพื่อติดต่อรับทำวิจัย

เขียนเค้าโครงวิทยานิพนธ์_อาจารย์ที่ปรึกษา ปัญหา_อาจารย์ที่ปรึกวิจัย_บริการจ้างทำวิทยานิพนธ์_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_การทำงานวิทยานิพนธ์_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย_งานวิทยานิพนธ์_จ้างทําวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_หัวข้อวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_การเขียน Proposal งานวิจัย_การเขียนโครงร่างงานวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ Thesis (ธีสิส)_การทำธีสิส_การทำทีสิส_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS

Save ข้อมูล ที่ลงไว้ในโปรแกรม SPSS มีขั้นตอนอย่างไร

เมื่อเราวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรม SPSS เสร็จแล้ว สิ่งสำคัญที่ขาดไม่ได้ในทุกๆ ครั้ง คือการ Save ข้อมูล SPSS เพื่อนำ Output ไปใช้ในขั้นตอนการวิเคราะห์ผลต่อไป

บทความนี้จึงะนำคุณไปสู่วิธี Save ข้อมูล SPSS ที่สั้นและเข้าใจมากที่สุด โดยมีขั้นตอนดังนี้

1. เลือกเมนู File > Save as

ในขั้นตอนนี้หากเครื่องคอมพิวเตอร์ของคุณ เป็นภาษาไทยให้ไปที่เมนูแฟ้ม แล้วเลือกบันทึกเป็น

เขียนเค้าโครงวิทยานิพนธ์_อาจารย์ที่ปรึกษา ปัญหา_อาจารย์ที่ปรึกวิจัย_บริการจ้างทำวิทยานิพนธ์_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_การทำงานวิทยานิพนธ์_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย_งานวิทยานิพนธ์_จ้างทําวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_หัวข้อวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_การเขียน Proposal งานวิจัย_การเขียนโครงร่างงานวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ Thesis (ธีสิส)_การทำธีสิส_การทำทีสิส_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS
รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์

2. เลือก Folder ที่ต้องการจะจัดเก็บไฟล์ข้อมูล ในที่นี้เก็บไฟล์ไว้ใน Folder test

ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนที่สำคัญมาก หากคุณจำไม่ได้ว่าคุณ Save ข้อมูล SPSS ไว้ที่ไหน นั่นหมายความว่าที่ทำมาไร้ความหมาย ไม่มีข้อมูลอ้างอิงหากมีการแก้ไขข้อมูลในโปรแกรม SPSS จะไม่สามารถทำได้เลย ดังนั้นจึงต้องตั้งชื่อที่คุณสามารถจำได้ด้วย

เขียนเค้าโครงวิทยานิพนธ์_อาจารย์ที่ปรึกษา ปัญหา_อาจารย์ที่ปรึกวิจัย_บริการจ้างทำวิทยานิพนธ์_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_การทำงานวิทยานิพนธ์_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย_งานวิทยานิพนธ์_จ้างทําวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_หัวข้อวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_การเขียน Proposal งานวิจัย_การเขียนโครงร่างงานวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ Thesis (ธีสิส)_การทำธีสิส_การทำทีสิส_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS
รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์

3. ตั้งชื่อไฟล์ ในแท็บ File name

จากการที่กล่าวไว้ข้างต้น ว่าการตั้งชื่อนั้นมีความสำคัญ ต้องตั้งชื่อไฟล์ที่คุณสามารถจดจำได้ เผื่อไว้กรณีที่มีการแก้ไขจะทำให้สามารถค้นหา และกลับมาแก้ไขไฟล์ได้ถูกต้อง อีกทั้งใครที่ไม่ถนัดภาษาอังกฤษ โปรแกรม SPSS ยังอนุญาตให้ตั้งชื่อได้ทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ 

เขียนเค้าโครงวิทยานิพนธ์_อาจารย์ที่ปรึกษา ปัญหา_อาจารย์ที่ปรึกวิจัย_บริการจ้างทำวิทยานิพนธ์_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_การทำงานวิทยานิพนธ์_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย_งานวิทยานิพนธ์_จ้างทําวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_หัวข้อวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_การเขียน Proposal งานวิจัย_การเขียนโครงร่างงานวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ Thesis (ธีสิส)_การทำธีสิส_การทำทีสิส_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS
รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์

4. กดปุ่ม Save เป็นอันสิ้นสุดขั้นตอนการ Save

ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนสุดท้าย ซึ่งถือว่าเป็นการยืนยันการ Save ข้อมูล SPSS ที่ได้ทำการวิเคราะห์ข้อมูลไว้ เมื่อกดปุ่ม Save แล้วคุณสามารถปิดโปรแกรมได้ทันทีหากไม่ได้ใช้แล้ว

เขียนเค้าโครงวิทยานิพนธ์_อาจารย์ที่ปรึกษา ปัญหา_อาจารย์ที่ปรึกวิจัย_บริการจ้างทำวิทยานิพนธ์_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_การทำงานวิทยานิพนธ์_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย_งานวิทยานิพนธ์_จ้างทําวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_หัวข้อวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_การเขียน Proposal งานวิจัย_การเขียนโครงร่างงานวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ Thesis (ธีสิส)_การทำธีสิส_การทำทีสิส_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS
รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์

ในการ Save ข้อมูล SPSS ทุกครั้งสิ่งที่หลายๆ คนมักพลาดคือการเพิ่มเติมข้อมูลแล้วไม่กดปุ่ม Save ทับ ดังนั้นสิ่งที่ควรสังเกตทุกครั้งคือ หากพบว่าปุ่ม Save ในโปรแกรม SPSS ยังเป็นสีฟ้าอยู่แสดงว่าคุณยังไม่ได้ Save งาน นั่นเอง

ช่องทางติดต่อ รับทำวิจัย
Tel: 0924766638
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

สแกนคิวอาร์โค้ด
เพื่อติดต่อรับทำวิจัย

เขียนเค้าโครงวิทยานิพนธ์_อาจารย์ที่ปรึกษา ปัญหา_อาจารย์ที่ปรึกวิจัย_บริการจ้างทำวิทยานิพนธ์_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_การทำงานวิทยานิพนธ์_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย_งานวิทยานิพนธ์_จ้างทําวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_หัวข้อวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_การเขียน Proposal งานวิจัย_การเขียนโครงร่างงานวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ Thesis (ธีสิส)_การทำธีสิส_การทำทีสิส_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง

6 ทางลัดการวิเคราะห์ SPSS ให้สำเสร็จอย่างมืออาชีพ

กระบวนการในการวิเคราะห์ SPSS ให้รวดเร็วอย่างมืออาชีพนั้น ทุกกระบวนการต้องมีการวางแผนการทำงาน ตั้งเป้าหมายที่ชัดเจน กำหนดเวลา และลงมือทำตามแผนที่ได้ตั้งเป้าหมายไว้ 

ในบทความนี้หากคุณกำลังสับสนในการเริ่ม วิเคราะห์ SPSS ว่าไม่รู้จะเริ่มต้นอย่างไร ทางบริษัทจะนำคุณมาสู่ทางลัดที่เป็นมืออาชีพ ว่าเขาทำงานอย่างไรกัน ที่จะสามารถทำให้ การวิเคราะห์ SPSS เสร็จเร็วตามเวลาที่กำหนดได้ 

ซึ่งก่อนอื่นต้องเริ่มจากรวบรวมแบบสอบถามมาตรวจสอบความครบถ้วนของข้อมูลทุกฉบับ ที่ได้แจกไป หลังจากนั้นก็สามารถเริ่มทำวิเคราะห์ข้อมูลได้เลย โดยการเริ่มต้นกระบวนการทางลัดอย่างมืออาชีพดังนี้

1. การกำหนดรหัสข้อมูล

ในการกำหนดรหัสข้อมูลของแบบสอบถาม หากคุณยังเป็นมือใหม่ ให้กำหนดรหัสในกระดาษ หรือแบบสอบถามก่อนสักหนึ่งชุด เพื่อเป็นแนวทางในการกำหนดรหัสข้อคำถามข้อนั้น 

ซึ่งรหัสแต่ละตัวแปรผู้กำหนดรหัสจะต้องตั้งชื่อให้ง่ายต่อการเข้าใจ ใช้ได้ทั้งตัวอักษรภาษาไทยและภาษาอังกฤษ และต้องมีความยาวของอักษรไม่เกิน 8 ตัว โดยอาจใช้ตัวอักษรผสมกับตัวเลขก็ได้ แต่ห้ามเว้นวรรค 

เขียนเค้าโครงวิทยานิพนธ์_อาจารย์ที่ปรึกษา ปัญหา_อาจารย์ที่ปรึกวิจัย_บริการจ้างทำวิทยานิพนธ์_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_การทำงานวิทยานิพนธ์_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย_งานวิทยานิพนธ์_จ้างทําวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_หัวข้อวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_การเขียน Proposal งานวิจัย_การเขียนโครงร่างงานวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ Thesis (ธีสิส)_การทำธีสิส_การทำทีสิส_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง
รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์

2. การกำหนดชนิดตัวแปร

สำหรับการกำหนดชนิดของตัวแปร SPSS นั้น มีให้กำหนด 9 ชนิด ส่วนอีก 2 ช่องว่างที่เหลือให้กำหนดความกว้างของช่องตัวอักษร และตำแหน่งจุดทศนิยม ตามชนิดของข้อมูล ซึ่งหน้าต่างที่จะให้กำหนดตัวแปรแต่ละชนิดมีรายละเอียดให้เลือก ตามรูป

เขียนเค้าโครงวิทยานิพนธ์_อาจารย์ที่ปรึกษา ปัญหา_อาจารย์ที่ปรึกวิจัย_บริการจ้างทำวิทยานิพนธ์_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_การทำงานวิทยานิพนธ์_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย_งานวิทยานิพนธ์_จ้างทําวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_หัวข้อวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_การเขียน Proposal งานวิจัย_การเขียนโครงร่างงานวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ Thesis (ธีสิส)_การทำธีสิส_การทำทีสิส_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง

รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์

ซึ่งชนิดของตัวแปรแต่ละตัวสามารถอธิบายให้เข้าใจง่าย ได้ดังนี้

เขียนเค้าโครงวิทยานิพนธ์_อาจารย์ที่ปรึกษา ปัญหา_อาจารย์ที่ปรึกวิจัย_บริการจ้างทำวิทยานิพนธ์_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_การทำงานวิทยานิพนธ์_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย_งานวิทยานิพนธ์_จ้างทําวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_หัวข้อวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_การเขียน Proposal งานวิจัย_การเขียนโครงร่างงานวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ Thesis (ธีสิส)_การทำธีสิส_การทำทีสิส_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง

รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์

3. การตรวจสอบค่า missing

เมื่อกรอกข้อมูลตามรหัสที่ได้ตั้งไว้เสร็จแล้ว การตรวจสอบค่า missing เป็นสิ่งสำคัญมาก เนื่องจากค่า missing จะทำให้ผลข้อมูลผิดพลาด หรือผิดเพี้ยนได้ 

ดังนั้นให้คุณสังเกตผลใน output หากค่า missing มีตัวเลขโชว์ควรรีบกลับไปแก้ไขให้ถูกต้อง แสดงว่าการกรอกของคุณต้องมีข้อผิดพลาด และหากข้อคำถามข้อใดผู้ตอบแบบสอบถามไม่มีคนตอบควรกำหนดรหัสเป็นตัวเลข 99 เพื่อง่ายต่อการตรวจสอบ

4. การใช้คีย์ลัดในโปรแกรม SPSS

การใช้คีย์ลัดเป็นเครื่องมือสำคัญที่สามารถทำให้งานเสร็จไว้ขึ้น นอกจากนั้นยังสามารถตรวจสอบการคีย์ข้อมูลที่ผิดพลาดได้อย่างแม่นยำ และทำให้ค้นหาหรือแทนที่ได้อย่างรวดเร็ว อย่างเช่น

Ctrl+A ไว้ใช้สำหรับการเลือกข้อมูลทั้งหมด

Ctrl+C ไว้ใช้สำหรับการคัดลอก

Ctrl+V ไว้ใช้สำหรับการวางข้อมูล

Ctrl+X ไว้ใช้สำหรับการตัดข้อมูลเพื่อนำไปวางในตำแหน่งใหม่

Ctrl+F ไว้ใช้สำหรับการค้นหาข้อมูล

Ctrl+T ไว้ใช้สลับการทำงานสำหรับระหว่าง data view และ variable view

5. การวิเคราะห์ข้อมูลจากผล SPSS

เมื่อเช็คแล้วว่าข้อมูลที่กรอกไม่ผิดพลาด สามารถวิเคราะห์ข้อมูล และทดสอบสมมติฐานที่ตั้งไว้ ได้เลยโดยจะต้องใช้สถิติให้ถูกต้องกับตัวแปรของแบบสอบถามแต่ละชนิดด้วย

6. การ Save ข้อมูลมาลง Word เพื่อกันการผิดพลาดในการวิเคราะห์ข้อมูล

ในขั้นตอนนี้คุณสามารถ Save ข้อมูลออกมาไว้ที่ Word ได้ ทำให้คัดลอกตัวเลขสะดวกขึ้น และป้องกันการวิเคราะห์ข้อมูลผิดพลาด และนอกจากนั้นสามารถดึงข้อมูล Output ไปวิเคราะห์ในเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ไม่มีโปรแกรม SPSS ได้ 

ซึ่งขั้นตอนนี้เพียงแค่ใช้คีย์ลัด Ctrl+A เพื่อเลือกข้อมูล output ทั้งหมด Ctrl+C คัดลอกข้อมูล และ Ctrl+V เพื่อนำข้อมูบมาวางใน Word

6 ทางลัดนี้ถือว่าเป็นประโยชน์อย่างมาก หากคุณนำไปใช้ เพราะนอกจากจะทำให้วิเคราะห์ข้อมูล ได้ถูกต้องแม่นยำแล้ว ยังสามารถทำให้งานของคุณเสร็จไวขึ้นด้วย

ช่องทางติดต่อ รับทำวิจัย
Tel: 0924766638
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

สแกนคิวอาร์โค้ด
เพื่อติดต่อรับทำวิจัย

ออกแบบแบบสอบถาม_วิเคราะห์แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_สถิต t-test_การวิเคราะห์ข้อมูล_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_บริการจ้างทำวิทยานิพนธ์_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_รับจัดหน้าวิทยานิพนธ์_การทำวิทยานิพนธ์ปริญญาโท_การทำงานวิทยานิพนธ์_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย_งานวิทยานิพนธ์_จ้างทําวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_หัวข้อวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_การเขียน Proposal งานวิจัย_การเขียนโครงร่างงานวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_t - test dependent กับ t - test independent แตกต่างกันอย่างไร_สถิติ t - test แตกต่าง_t - test dependent กับ t - test independent_t - test dependent_t - test independent_โปรแกรม spss_สัญลักษณ์สถิติ_สัญลักษณ์สถิติในเชิงพรรณณา_สัญลักษณ์สถิติในเชิงอนุมาน

เทคนิคการสร้างแบบสอบถามงานวิจัย สำเร็จไวภายใน 30 นาที

ในบทความนี้จะเป็นเทคนิค 3 ข้อ การสร้างแบบสอบถามงานวิจัย สำเร็จไวภายใน 30 นาที ทั้งยังสามารถเป็นแนวทางเพื่อพัฒนาการสร้างแบบสอบถามของงานวิจัยสำหรับผู้วิจัยมือใหม่ได้อีกด้วย

1. กำหนดแต่ละส่วนตามตัวแปรที่ใช้ในกรอบแนวคิดการวิจัย

ในงานวิจัยที่เป็นงานวิจัยเชิงปริมาณ ส่วนใหญ่แล้วจะต้องมีกรอบแนวคิดการวิจัย ซึ่งจะเป็นตัวกำหนดตัวแปรต้นและตัวแปรตาม เพื่อให้สามารถกำหนดตัวแปรย่อยหรือองค์ประกอบย่อยของแต่ละส่วนงานได้ต่อไป

รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์

ดังนั้นในการสร้างแบบสอบถามที่ดีจึงต้องสร้างตามกรอบแนวคิดการวิจัย โดยเริ่มจากการกำหนดตัวแปรต้น และสร้างข้อคำถามที่เกี่ยวข้องไล่มาตามลำดับของตัวแปรต้น 

เช่น สมมติว่ามีปัจจัยส่วนบุคคล ทัศนคติ ปัจจัยส่วนผสมทางการตลาดเป็นตัวแปรต้น ก็จะกำหนดข้อคำถามโดยเริ่มตั้งแต่ปัจจัยส่วนบุคคลไล่ลงมาที่ทัศนคติและปัจจัยส่วนผสมทางการตลาดตามลำดับ แล้วค่อยกำหนดตัวแปรตามในลำดับถัดมา

2. สังเคราะห์จากนิยามศัพท์

เมื่อสามารถสร้างข้อคำถามในแต่ละส่วนตามกรอบแนวคิดการวิจัยได้แล้ว ควรมีการนำเนื้อหามาเขียนเรียบเรียงเป็นนิยามศัพท์ขึ้นมา เนื่องจากว่านิยามศัพท์จะต้องสะท้อนถึงข้อคำถามที่นำมาสังเคราะห์จากตัวแปรที่ใช้ในการวิจัยได้ด้วย

รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์

ดังนั้น หากท่านสามารถสร้างข้อคำถามที่สอดคล้องกับนิยามศัพท์ได้ โดยตั้งเป็นข้อคำถามในแบบสอบถามงานวิจัยก่อน แล้วจึงนำเนื้อหาจากข้อคำถามของแบบสอบถามนั้นมาเรียบเรียงเป็นนิยามศัพท์ จะทำให้ทั้งสองส่วนนั้นมีความสอดคล้องกันและไม่จำเป็นต้องมาแก้ไขในภายหลัง

3. มีข้อคำถามปลายเปิด

แบบสอบถามที่ดีที่สุดจำเป็นจะต้องมีการเปิดให้เสนอความคิดเห็นที่เกี่ยวกับหัวข้อที่ทำการศึกษาวิจัย เช่น ปัจจัยส่วนผสมทางการตลาดที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อบริการหรือผลิตภัณฑ์นั้น จำเป็นจะต้องมีการเปิดให้กลุ่มตัวอย่างได้เสนอแนะความคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับหัวข้องานวิจัยดังกล่าวได้

รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์

เพื่อที่จะนำข้อคิดเห็นที่สำคัญจากกลุ่มตัวอย่างดังกล่าวนั้นมาเขียนเป็นข้อเสนอแนะ หรือนำมาสรุปเป็นผลการวิจัยที่จะเป็นประโยชน์ต่อการนำเสนอเป็นแนวทางในการพัฒนาต่อยอดงานวิจัยที่เกี่ยวข้องในครั้งถัดไปได้

ดังนั้นการสร้างแบบสอบถามที่ดีจึงจำเป็นจะต้องสร้างตามกรอบแนวคิดการวิจัย ไล่เรียงตามลำดับตัวแปร และมีองค์ประกอบย่อยที่แสดงผลอย่างชัดเจน 

หากท่านสามารถสร้างแบบสอบถามจากกรอบแนวคิดการวิจัยได้ ก็จะทำให้ท่านได้รับความสะดวกในการเขียนเนื้อหางานวิจัยในส่วนที่เกี่ยวข้อง และสามารถที่จะออกแบบแบบสอบถามโดยสำเร็จได้ในระยะเวลาไม่เกิน 30 นาที เพื่อความสะดวกรวดเร็วในการทำงานวิจัยในส่วนอื่นๆ ต่อไป

ช่องทางติดต่อ รับทำวิจัย
Tel: 0924766638
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

สแกนคิวอาร์โค้ด
เพื่อติดต่อรับทำวิจัย

สัญลักษณ์สถิติเบื้องต้นที่คุณควรรู้

“สัญลักษณ์สถิตินี้มีความความว่าอย่างไร?” 
“สัญลักษณ์สถิตินี้เป็นสถิติประเภทไหน?”

ความจริงที่ว่าคุณไม่จำเป็นที่จะต้องทำการวิเคราะห์สถิติได้ แค่รู้ในขั้นพื้นฐาน ให้สามารถทำการอธิบายได้ว่าในงานวิจัยที่คุณทำการศึกษานั้นใช่สถิติอะไรในการวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อตอบคำถามของงานวิจัย

ฉะนั้น บทความนี้เราจะมาตอบคำถามที่ทางทีมงานของบริษัทฯ เราเจอเป็นประจำเกี่ยวกับสัญลักษณ์สถิติ ซึ่งเป็นคำถามที่ลูกค้าสอบถามเข้ามาบ่อยมาก และรวมถึงคุณเองที่ก็สงสัย และอยากได้คำตอบนั้นเหมือนกัน 

รวบรวมสัญลักษณ์สถิติที่ หรือคุณทำกำลังศึกษาเกี่ยวกับสถิติควรต้องรู้ ซึ่งจะแบ่งสัญลักษณ์ตามประเภทสถิติ เพื่อไม่ให้สับสน ได้ดังนี้

1. สัญลักษณ์สถิติในเชิงพรรณณา

สัญลักษณ์สถิติ_สัญลักษณ์สถิติในเชิงพรรณณา_วิเคราะห์-SPSS_บริการรับทำวิจัย.com
รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์

2. สัญลักษณ์สถิติในเชิงอนุมาน

สัญลักษณ์สถิติ_สัญลักษณ์สถิติในเชิงอนุมาน_วิเคราะห์-SPSS_บริการรับทำวิจัย.com
รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์

จะเห็นได้ว่าแต่ละสัญลักษณ์สถิตินั้นมีความหมายที่ชัดเจนต่างกันออกไป และคงจะคลายข้อสงสัยของคุณไปได้ไม่น้อยเลยทีเดียว อีกทั้งสามารถนำใช้ประโยชน์ได้เลยไม่ว่าจะตอนขึ้นสอบ หรือตอนตอบคำถามกับอาจารย์ที่ปรึกษางานวิจัยได้อย่างมั่นใจได้อีกด้วย

ช่องทางติดต่อ รับทำวิจัย
Tel: 0924766638
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

สแกนคิวอาร์โค้ด
เพื่อติดต่อรับทำวิจัย

สถิต t-test_การวิเคราะห์ข้อมูล_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_บริการจ้างทำวิทยานิพนธ์_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_รับจัดหน้าวิทยานิพนธ์_การทำวิทยานิพนธ์ปริญญาโท_การทำงานวิทยานิพนธ์_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย_งานวิทยานิพนธ์_จ้างทําวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_หัวข้อวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_การเขียน Proposal งานวิจัย_การเขียนโครงร่างงานวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_t - test dependent กับ t - test independent แตกต่างกันอย่างไร_สถิติ t - test แตกต่าง_t - test dependent กับ t - test independent_t - test dependent_t - test independent_โปรแกรม spss

วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรม SPSS จ้างอย่างไรดี ที่นี่มีคำตอบ!

หากคุณเป็นผู้ทำวิจัยในหัวข้อทางด้านสังคมศาตร์ และต้องการหาโปรแกรมที่สามารถวิเคราะห์สถิติและแสดงผลในรูปแบบต่างๆ ได้ ไม่ว่าจะเป็นตาราง แผนภูมิ กราฟ และการทำนายค่าทางสถิติเบื้องต้น ไปจนถึงขั้นสูง คงหนีไม่พ้นโปรแกรม SPSS 

เพราะโปรแกรม SPSS เป็นโปรแกรมสำเร็จรูป โดยที่ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องมีความรู้พื้นฐานทางด้านสถิติเป็นอย่างดีเสมอไป เพียงแค่มีความรู้สถิติเบื้องต้น เช่น ค่าร้อยละ ค่าความถี่ ค่าต่ำสุด ค่าสูงสุด ค่าเฉลี่ย ค่าฐานนิยม และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ก็สามารถนำมาประยุกต์เพื่อนำเสนอข้อมูลให้น่าสนใจ สามารถตอบโจทย์งานวิจัยได้เป็นอย่างดี 

ซึ่งเหมาะสำหรับผู้วิจัยที่ต้องการประมวลผลข้อมูลที่ถูกต้อง แม่นยำ และรวดเร็ว ดังนั้นผลตัวเลขที่ได้จากโปรแกรม SPSS จึงนิยมนำมาใช้เพื่อเป็นเครื่องมือในการตัดสินใจของผู้บริหาร การวิเคราะห์การตลาดเบื้องต้น รวมถึงการวิเคราะห์ทัศนคติ และความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างได้เป็นอย่างดี หากผู้ใช้นำมาประยุกต์จะสามารถนำข้อมูลไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

และ ในปัจจุบันโปรแกรม SPSS ได้มีการพัฒนาขึ้น จนสามารถตอบสนองผู้ใช้งานให้ครอบคลุมมากยิ่งขึ้น เช่น สามารถรองรับการคีย์ข้อมูลที่เป็นภาษาไทยได้ และสามารถดึงฐานข้อมูลจากโปรแกรมอื่นเข้ามาวิเคราะห์ข้อมูลได้ง่าย จึงทำให้โปรแกรม SPSS เป็นที่นิยมมากในหมู่ของนักสถิติ และนักวิจัย 

แต่กระนั้นก็มีผู้ทำวิจัยหลายท่านที่ไม่มีเวลาในการทำงานวิจัยในขั้นตอนนี้ อาจเนื่องจากภาระหน้าที่จากงานประจำ มีโรคประจำตัว ไม่ถนัดทางด้านสถิติ หรือต้องดูแลครอบครัว จึงอาจต้องใช้ผู้เชี่ยวชาญทางด้านนี้รับช่วงต่อ เพื่อให้งานเสร็จทันเวลา ซึ่งก่อนการตกลงจ้างคุณควรมีการตรวจสอบคุณสมบัติของผู้รับวิเคราะห์ผลข้อมูลโปรแกรม SPSS ดังนี้

1. ผู้รับวิเคราะห์ผลข้อมูล มีสถานที่การทำงานเป็นหลักแหล่งหรือไม่

สิ่งแรกที่ลูกค้าส่วนใหญ่มักถามเราเป็นอันดับแรก คือ มีสถานที่การทำงานอยู่ที่ไหน ซึ่งเป็นคำถามที่ทีมงานทุกท่าน โดนถามอยู่เป็นประจำ ถึงแม้ว่าบริษัทฯ จะรับวิเคราะห์ผลมามากกว่า 8 ปี แล้วก็ตาม นั่นเป็นสิ่งที่ลูกค้าตั้งใจจะถาม เพื่อสร้างความมั่นใจก่อนเริ่มทำงาน และเพื่อให้รู้ว่ามีตัวตนจริง ไม่ใช่มิจฉาชีพ 

ดังนั้น ก่อนเริ่มว่าจ้างงานอาจจะต้องมีการตรวจสอบว่า ผู้รับวิเคราะห์ผลมีสถานที่ทำงานเป็นหลักแหล่งจริงหรือไม่ บริษัทอยู่ที่ไหน เพื่อสร้างความเชื่อมั่นในการว่าจ้าง

2. มีความรู้ทางด้านสถิติจริง

การตกลงว่าจ้างวิเคราะห์ผลข้อมูล เป็นบริการที่หลายๆ ท่านหันมาใช้บริการเพื่อลดระยะเวลาในการวิจัยของตัวเอง เนื่องจากการวิเคราะห์ข้อมูลต้องใช้บุคคลหลายคนทำงานร่วมกัน เช่น การกรอกข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การแปลผลข้อ การตรวจสอบข้อมูล ทุกกระบวนการจะต้องอาศัยความชำนาญสูงในการตรวจสอบตัวเลข เพราะจะต้องอยู่กับตัวเลขหลายๆ ตัวรวมกัน 

ดังนั้นเพื่อให้งานเสร็จทันเวลาที่กำหนดไว้ ผู้รับวิเคราะห์ผลข้อมูล SPSS จะต้องมีความรู้ ความเชี่ยวชาญทางด้านสถิตินั้นจริงด้วย เพราะจะต้องสามารถรู้กระบวนการได้มาของตัวเลขดังกล่าวเป็นอย่างดี เมื่อลูกค้าสอบถาม ผู้วิเคราะห์จะต้องสามารถตรวจสอบ และตอบคำถามได้ทันที ฉะนั้นการเลือกผู้ให้บริการจึงมีผลต่องานของคุณเป็นอย่างมาก

3. มีผล Output ของโปรแกรม SPSS ให้

ในการวิเคราะห์ผลข้อมูลทุกครั้ง โปรแกรม SPSS จะแสดงผล Output เพื่อให้ผู้วิเคราะห์ผลข้อมูลสามารถนำไปประมวลผลให้ออกมาในรูปแบบตาราง และบรรยายข้อมูลออกมา เพื่อให้ผู้อ่านงานวิจัยสามารถเข้าใจผลการวิจัยได้ง่ายขึ้น ซึ่งหากผู้รับวิเคราะห์ผลข้อมูลท่านใดไม่มี Output จากโปรแกรม SPSS ให้สันนิษฐานได้เลยว่าตัวเลขที่ได้มานั้นมีการคัดลอกจากที่อื่นมา หรือมั่วตัวเลขขึ้นมานั่นเอง

ดังนั้นเพื่อให้ได้ข้อมูลจากการวิเคราะห์ด้วยโปรแกรม SPSS ที่ถูกต้อง และรวดเร็ว คุณควรใช้บริการกับบริษัทที่มีความน่าเชื่อถือ มีสถานที่ทำงานเป็นหลักแหล่ง มีผู้เชี่ยวชาญในการให้บริการ และมีผล Output จากโปรแกรม SPSS มอบให้ เพื่อการันตีผลงาน

ช่องทางติดต่อ รับทำวิจัย
Tel: 0924766638
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

สแกนคิวอาร์โค้ด
เพื่อติดต่อรับทำวิจัย

โปรแกรม SPSS_SPSS_ANOVA_One Way ANOVA_F-test_วิเคราะห์ ANOVA_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย

5 กฎข้อห้ามของ SPSS ที่หลายคนยังไม่รู้!

ในโปรแกรม SPSS มีกฎมากมายที่หลายยังไม่รู้ซ่อนอยู่ หากคุณเป็นมือใหม่ที่เพิ่งเริ่มใช้ SPSS แน่นอนคุณอาจจะไม่มีทางรู้เลยว่ามีกฎนี้อยู่ด้วย 

ในบทความนี้ทางเราได้หยิบยก กฎข้อห้ามบางส่วน 5 ข้อจากผู้เชี่ยวชาญทางด้านสถิติ ที่คุณต้องพบเจอหากเป็นมือใหม่ที่ไม่เคยใช้โปรแกรม SPSS มาก่อน เพื่อเวลาเปิดใช้จะได้ไม่พบเจอปัญหา Eror หรือเปิดไฟล์ไม่ได้ 

1. คุณจะเปิดไฟล์นามสกุล .sav และ .spv ไม่ได้ถ้าเครื่องของคุณยังไม่ได้ลงโปรแกรม SPSS

รับทำวิจัย แอดไลน์ @impressedu

ถ้าคุณเปิดมาเจอบทความนี้แสดงว่าคุณกำลังจะหาทางเปิดไฟล์ .spv และ .sav อยู่ใช่ไหม? 

ถ้าหากว่าใช่ในหัวข้อนี้จะอธิบายให้กระชับและเข้าใจง่ายที่สุด

ไฟล์นามสกุล .sav และ .spv เป็นไฟล์ที่มาจากโปรแกรม SPSS ดังนั้นหากคุณจะเปิด 2 ไฟล์ นี้ควรลงโปรแกรม SPSS ก่อนถึงจะเปิดได้ตามปกติ

และนอกจากนั้น 2 ไฟล์นี้จะเปิดได้เฉพาะบนเครื่องคอมพิวเตอร์ PC เท่านั้น!! และเครื่องที่ใช้เปิดไฟล์ดังกล่าวจะต้องใช้ Windows ต่อไปนี้ Windows 10, Windows 7, Windows 8 / 8.1, Windows Vista หรือ Windows XP

2. คุณไม่สามารถเปิดไฟล์ SPSS เวอร์ชั่นล่าสุด บนเครื่องที่เวอร์ชั่นเก่ากว่าได้

ปัญหานี้มักจะเจอกับผู้ใช้โปรแกรมที่มีอายุ 40 ปีขึ้นไป หากคุณไม่รู้ไม่ใช่เรื่องที่ผิดเพราะว่าในปัจจุบันโปรแกรม SPSS มีการปรับประสิทธิภาพให้ดีขึ้นเสมอ จึงมีการอัพเดทเวอร์ชั่นใหม่ๆ อยู่เรื่อยๆ เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการคำนวณให้รวดเร็ว และแม่นยำมากขึ้น 

ดังนั้นคนที่ไม่ได้ใช้ทุกวันจึงใช้เวอร์ชั่นเดิมที่ตนเองเคยชิน เนื่องจากเมนูคุ้มมือ คุ้นตา ซึ่งเวอร์ชั่นเก่าสุดที่บริษัทเคยสอบถามลูกค้าคือ SPSS เวอร์ชั่น 17 จึงพบปัญหาเปิดไฟล์ไม่ได้เมื่อสลับเครื่องคอมพิวเตอร์มาใช้อีกเครื่องที่มีโปรแกรม SPSS เวอร์ชั่นใหม่กว่า

3. การกำหนดรหัสตัวแปรจะแทนค่าด้วยตัวอักษรไม่ได้

การกำหนดรหัสตัวแปรทุกครั้ง จะต้องกำหนดในช่อง Values หากตัวแปรเป็นตัวอักษรจะต้องแปลงเป็นรหัสตัวเลขก่อน เพื่อให้โปรแกรมนำตัวเลขไปวิเคราะห์ผลได้สะดวกขึ้น 

เช่น ตัวแปร ‘เพศ’ กําหนดให้ ‘เพศชาย’ มีค่าเท่ากับ 1 และ ‘เพศ หญิง’ มีค่าเท่ากับ 2 เป็นต้น

4. การตั้งชื่อตัวแปรห้ามมีช่องว่าง และมีอักขระพิเศษ โดยเด็ดขาด

การตั้งชื่อตัวแปรในช่อง Name โปรแกรม SPSS อนุญาตให้ตั้งชื่อที่เป็นภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษก็ได้ แต่สิ่งที่ห้ามทำอีก 2 อย่างในการตั้งคือ

– ห้ามมีการเคาะเพื่อให้เกิดช่องว่าง

– ใช้อักษรพิเศษอื่น ๆ ที่ไม่ใช่ตัวอักษรหรือตัวเลข  เช่น  ? ,   + ,   – ,   * ,   / ,  …  ยกเว้นเครื่องหมาย  _ (underscore) 

หากฝืนกฎโปรแกรมจะแจ้ง Error ทันที!!

5. ห้ามตั้งชื่อที่มีความยาว 8 ตัวอักษร

การตั้งชื่อตัวแปรในช่อง Name นั้นนอกจาก SPSS จะไม่ให้มีการเคาะช่องว่างและตัวอักษรพิเศษแล้ว สิ่งสำคัญคือการตั้งชื่อต้องมีความยาวไม่เกิน 8 ตัวอักษร ดังนั้นข้อคำถามที่ยาวมากๆ จะต้องใช้รหัสแทน ผู้วิจัยควรมีตารางกำหนดรหัสดังนี้

ข้อคำถามลงรหัส
ด้านราคาPrice
สินค้าที่ท่านซื้อมีราคาเหมาะสมA1
สินค้าที่ท่านซื้อมีราคาถูกเมื่อเทียบกับร้านอื่นA2

อย่างไรแล้วกฎข้อห้ามบางข้อที่กล่าวมาข้างต้น อาจมีเปลี่ยนแปลงได้ขึ้นอยู่กับการพัฒนาของโปรแกรม SPSS ดังเช่น SPSS รุ่นเก่าๆ ที่ไม่สามารถตั้งชื่อตัวแปรเป็นภาษาไทยได้เลย แต่ปัจจุบันมีการปรับปรุงให้ใช้ภาษาไทยได้แล้ว อนาคตอาจจะมีการปรับปรุงให้มีการตั้งชื่อตัวแปรที่ยาวกว่า 8 ตัวอักษรก็เป็นไปได้

ช่องทางติดต่อ รับทำวิจัย
Tel: 0924766638
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

สแกนคิวอาร์โค้ด
เพื่อติดต่อรับทำวิจัย
การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ spss

SPSS ไม่ยาก หากเข้าใจและมีเวลา

ในการศึกษางานวิจัยในแต่ละหัวข้อนั้น อาจจำเป็นต้องใช้สถิติขั้นสูงสำหรับการวิเคราะห์ SPSS ข้อมูลทางสถิติในงานวิจัย เช่น สมการพยากรณ์ โดยการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) เป็นวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติเพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรตามกับตัวแปรอิสระ หาความสัมพันธ์ลักษณะทางประชากรศาสตร์กับพฤติกรรมการเลือกซื้อสินค้าต่างๆ

และ วิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ Factor Analysis เพื่อเป็นการลดรูปตัวแปร สำหรับ วิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ T-Test , F-Test เพื่อเปรียบเทียบข้อมูลทางสถิติตัวแปรต้นที่มีผลต่อตัวแปรตาม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 เป็นต้น

วิเคราะห์ข้อมูล SPSS ไม่ยาก หากมีเวลามากพอ

เชื่อว่าหลายๆ ท่าน ก่อนที่จะทำการตัดสินใจเริ่มบริการวิเคราะห์ผลข้อมูล SPSS นั้น หลายคนต่างก็ต้องศึกษาข้อมูลในขั้นตอนบริการ เพื่อให้ได้ผลการวิเคราะห์ข้อมูล SPSS ตามกำหนด รวมถึงประวัติการการบริการของบริษัทฯ เรามาแล้วทั้งนั้น

ซึ่งทางบริษัทฯ เราเข้าใจในความกังวลของทุกท่าน เพราะราคาสำหรับบริการ SPSS นั้นค่อนข้างสูงพอสมควร และต้องเป็นบริการที่น่าเชื่อถือและไว้ใจได้

ซึ่งการวิเคราะห์ผลข้อมูล SPSS นั้นก็ไม่ใช่เรื่องยาก เพราะพื้นฐานในการใช้โปรแกรม SPSS นั้นมีขั้นตอนที่ไม่ยุ่งยากเท่าไหร่ แต่ส่วนใหญ่ที่ใช้ในบริการงานวิจัย งานวิทยานิพนธ์นั้น เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลขั้นสูงเกือบทั้งสิ้น

เว้นเสียแต่ว่าคุณมีความเข้าใจในขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูล SPSS อยู่ก่อนแล้ว  แต่ที่สำคัญคือ เวลา ที่ต้องใช้ในการเก็บข้อมูล เพื่อนำมาประมวลผลในงานวิจัยนั้นๆ ต้องมีมากพอ และยิ่งหากคุณทำงานประจำ คุณอาจจะต้องเสียเวลามากในการความเข้าใจ และออกไปเก็บข้อมูลเพื่อนำมาวิเคราะห์เอง

การวิเคราะห์ข้อมูล SPSS ประเมินราคาจริงตามขั้นตอนและระยะเวลา

จากที่กล่าวมาข้างต้น สำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล SPSS นั้น มีขั้นตอนและต้องใช้เวลาในการเก็บข้อมูลและการวิเคราะห์ประมวลผล จึงมีราคาที่ค่อนข้างสูงพอสมควร แต่หากเทียบกับขั้นตอนกับระยะเวลาที่คุณต้องเสียในการวิเคราะห์ข้อมูลเองนั้นถือว่าคุ้มค่ามาก

ทางบริษัทฯ เราสามารถวิเคราะห์ข้อมูลสถิติผ่านโปรแกรม SPSS ในราคาที่สมเหตุสมผล ได้ข้อมูลสถิติที่มีคุณภาพ ถูกต้องตามหลักสถิติ และยังทำให้คุณไม่ต้องเสียเวลาในการศึกษาโปรแกรมในการอ่านผลวิเคราะห์ข้อมูล SPSS ด้วยตนเอง

และไม่ส่งผลต่อหน้าที่การงานประจำต้องเสียเวลาวิเคราะห์ข้อมูล SPSS เป็นอย่างมาก หรืออาจจะทำผิดหลักการวิเคราะห์ข้อมูลสถิติในงานวิจัย และส่งผลให้เสียเวลาในการแก้ไขงานวิจัย งานวิทยานิพนธ์ที่อาจารย์ที่ปรึกษาให้แก้ไขปรับปรุง

สำหรับราคาบริการ SPSS มีเกณฑ์ที่หลากหลายเกณฑ์ โดยทางบริษัทฯ จะประเมินราคาบริการ SPSS ตามขั้นตอนและระยะเวลาตามที่กำหนดเป็นเกณฑ์มาตราฐาน

รับประกันในความเป็นมืออาชีพ ราคาเหมาะสม  และส่งงานตรงตามเวลากำหนด

หากคุณกำลังตัดสินใจสำหรับการบริการ SPSS กับทางบริษัทฯ เรา คุณสามารถมั่นใจและคลายความกังวลต่างๆ ลงได้

เนื่องจากทางบริษัทฯ มีทีมงานที่มีประสบการณ์ในการวิเคราะห์ข้อมูลสถิติ มีความสามารถในการใช้โปรแกรม SPSS ผ่านการฝึกอบรมและการลงมือในการวิเคราะห์ข้อมูลงานวิจัยที่หลากหลาน ซึ่งรับรองได้ว่าคุณจะได้ผลการวิเคราะห์งานวิจัยที่มีวามถูกต้องตามหลักการวิเคราะห์ข้อมูลสถิติ SPSS สำหรับงานวิจัย หรืองานวิทยานิพนธ์ และตรงตามกำหนดระยะเวลาอย่างแน่นอน

ทางบริษัทฯ บริการ SPSS การันตีผลงานวิจัยทุกชิ้นงาน ทางบริษัทฯ เรามอบสิทธิแก้ไขงานฟรี 2 ครั้งต่อการวิเคราะห์ข้อมูล กรณีแก้ไขผลงานวิจัยให้เป็นครั้งที่ 3 ทางเราจะประเมินการตามเกณฑ์ราคาที่ตัวกำหนดตามจริง

ช่องทางติดต่อ รับทำวิจัย
Tel: 0924766638
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์
สแกนคิวอาร์โค้ด
เพื่อติดต่อรับทำวิจัย