อยากมีผลงานวิชาการที่มีคุณภาพต้องทำอย่างไร?

ผลงานวิชาการที่มีคุณภาพเป็นสิ่งที่สะท้อนองค์ความรู้ทางวิชาการของนักเขียน ผู้ศึกษา หรือผู้วิจัยที่ทำผลงานทางวิชาการ โดยเฉพาะการทำวิจัยที่จำเป็นจะต้องมีคุณภาพตามหลักวิชาการ เพื่อที่จะสะท้ององค์ความรู้ของผู้ทำวิจัย

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ Thesis (ธีสิส) _การทำธีสิส_การสืบค้นข้อมูลงานวิจัย_งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_การตั้งหัวข้อวิจัย_เทคนิคตั้งหัวข้อวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_การเขียนบทความวิจัย_บทความวิจัย_ข้อห้ามงานวิจัย_ทำงานวิจัย_หัวข้อวิจัย การท่องเที่ยว_วิจัยหัวข้อ_ บทคัดย่องานวิจัย_Abtract งานวิจัย_งานทีสิส_วางแผนงานทีสิส_เขียนโครงร่างงานวิจัย_โครงร่างงานวิจัย_แปลบทความวิจัย_แปลงานวิจัย_เทคนิคแปลงานวิจัย_วางแผนงานวิจัย_เทคนิคทำงานวิจัย_เทคนิคการทำ IS_ผลงานวิชาการ

นอกจากนี้ผลงานวิชาการไม่ได้รวมอยู่แค่ประเภทของงานวิจัยเท่านั้น ยังมีเอกสารที่เกี่ยวข้องต่างๆ ที่เป็นบทความ บทความวิจัย บทความวิชาการที่เป็นส่วนหนึ่งของผลงานทางวิชาการอีกด้วย

การที่จะทำผลงานวิชาการให้มีคุณภาพได้อย่างไร สิ่งที่ทางเราจะบอกต่อไปนี้ ถือว่าเป็นอีกหนึ่งเคล็ดลับที่จะดำเนินการทำผลงานทางวิชาการที่มีคุณภาพ

1. รู้จักแหล่งวัตถุดิบที่ดี

การรู้จักแหล่งวัตถุดิบที่ดี หมายถึง การรู้จักฐานข้อมูลที่จะเข้าถึงวัตถุดิบที่เป็นข้อมูลที่มีคุณภาพ หรือว่าทันสมัย โดยเฉพาะแหล่งข้อมูลที่เป็นวารสารมหาวิทยาลัยหรือสถาบันที่ได้รับการยอมรับ

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ Thesis (ธีสิส) _การทำธีสิส_การสืบค้นข้อมูลงานวิจัย_งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_การตั้งหัวข้อวิจัย_เทคนิคตั้งหัวข้อวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_การเขียนบทความวิจัย_บทความวิจัย_ข้อห้ามงานวิจัย_ทำงานวิจัย_หัวข้อวิจัย การท่องเที่ยว_วิจัยหัวข้อ_ บทคัดย่องานวิจัย_Abtract งานวิจัย_งานทีสิส_วางแผนงานทีสิส_เขียนโครงร่างงานวิจัย_โครงร่างงานวิจัย_แปลบทความวิจัย_แปลงานวิจัย_เทคนิคแปลงานวิจัย_วางแผนงานวิจัย_เทคนิคทำงานวิจัย_เทคนิคการทำ IS_ผลงานวิชาการ

ซึ่งเป็นสิ่งที่สามารถอ้างอิงในการเขียนผลงานวิชาการที่มีคุณภาพได้ เนื่องจากว่าการเขียนผลงานทางวิชาการ ขึ้นเนื้อหาข้อมูลที่จะนำมาต่อยอด หรือสังเคราะห์เป็นองค์ความรู้ใหม่ การที่จะได้วัตถุดิบที่ดีจำเป็นที่จะต้องคัดสรรในสิ่งที่เป็นแหล่งเผยแพร่แหล่งฐานข้อมูลที่มีคุณภาพ

การที่จะเลือกแหล่งฐานข้อมูลที่มีคุณภาพได้ 
1. เลือกหน่วยงานที่เป็นของภาครัฐที่มีความน่าเชื่อถือ
2. แหล่งอ้างอิงที่เป็นของเอกชนที่มีการยอมรับในระดับสากล หรือได้รับการยอมรับภายในสังคม 

อาจจะกล่าวได้ว่าการเข้าถึงแหล่งอ้างอิงที่ได้รับการยอมรับของเอกชน หรือภาครัฐที่มีคุณภาพเพียงพอ จะทำให้ท่านได้ข้อมูลที่มีคุณภาพในการที่จะนำมาผลิตผลงานวิชาการที่มีคุณภาพต่อไป

2. มีไอเดียสร้างสรรค์

การสร้างไอเดีย เพื่อเขียนผลงานทางวิชาการจะต้องเป็นสิ่งที่แปลกใหม่และไม่เคยมีใครศึกษา หรือค้นคว้ามาก่อน  

การต่อยอดองค์ความรู้ผลงานทางวิชาการผู้ศึกษาหรือผู้วิจัยนั้น จำเป็นที่จะต้องมีความรู้หลักการทางวิชาการในการที่จะเขียนเรียบเรียงแสดงผลลัพธ์ทางวิชาการผ่านทางเนื้อหางานผลงานทางวิชาการ

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ Thesis (ธีสิส) _การทำธีสิส_การสืบค้นข้อมูลงานวิจัย_งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_การตั้งหัวข้อวิจัย_เทคนิคตั้งหัวข้อวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_การเขียนบทความวิจัย_บทความวิจัย_ข้อห้ามงานวิจัย_ทำงานวิจัย_หัวข้อวิจัย การท่องเที่ยว_วิจัยหัวข้อ_ บทคัดย่องานวิจัย_Abtract งานวิจัย_งานทีสิส_วางแผนงานทีสิส_เขียนโครงร่างงานวิจัย_โครงร่างงานวิจัย_แปลบทความวิจัย_แปลงานวิจัย_เทคนิคแปลงานวิจัย_วางแผนงานวิจัย_เทคนิคทำงานวิจัย_เทคนิคการทำ IS_ผลงานวิชาการ

อาจจะกล่าวได้ว่าการที่จะเขียนผลงานทางวิชาการได้ ทางที่ดีที่สุดคือจะต้องมีไอเดียความคิดสร้างสรรค์ต่อยอดองค์ความรู้ทางวิชาการ ให้ออกมาสดใหม่ มีความน่าสนใจ ทันสมัย และเป็นที่ต้องการของสาธารณะหรือประชาชนโดยทั่วไป จึงจะนับได้ว่าเป็นการต่อยอดความรู้ทางวิชาการที่มีประโยชน์ต่อสังคม โดยใช้ความคิดสร้างสรรค์เป็นสื่อการผลิต

3. เขียนตามหลักการทางวิชาการ

การเขียนตามหลักการทางวิชาการ แน่นอนว่าส่วนใหญ่แล้วจำเป็นที่จะต้องเป็นผู้ที่มีความรู้ ความเข้าใจการผลิตผลงานทางวิชาการอย่างน้อยจำเป็นที่จะต้องเป็นผู้ที่มีความรู้ในระดับบัณฑิตขั้นไป 

การเขียนตามหลักการวิชาการเป็นสิ่งหนึ่งที่มีความละเอียด และมีความต้องการของข้อจำกัดในการเขียนผลิตผลงานอยู่ค่อนข้างมาก โดยเฉพาะการเขียนอ้างอิงหรือการผลิตสังเคราะห์องค์ความรู้ขึ้นมาใหม่ที่จำเป็นจะต้องเป็นไปตามหลักการทางวิชาการ

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ Thesis (ธีสิส) _การทำธีสิส_การสืบค้นข้อมูลงานวิจัย_งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_การตั้งหัวข้อวิจัย_เทคนิคตั้งหัวข้อวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_การเขียนบทความวิจัย_บทความวิจัย_ข้อห้ามงานวิจัย_ทำงานวิจัย_หัวข้อวิจัย การท่องเที่ยว_วิจัยหัวข้อ_ บทคัดย่องานวิจัย_Abtract งานวิจัย_งานทีสิส_วางแผนงานทีสิส_เขียนโครงร่างงานวิจัย_โครงร่างงานวิจัย_แปลบทความวิจัย_แปลงานวิจัย_เทคนิคแปลงานวิจัย_วางแผนงานวิจัย_เทคนิคทำงานวิจัย_เทคนิคการทำ IS_ผลงานวิชาการ

ซึ่งแน่นอนว่าจำเป็นจะต้องใช้แนวคิดหรือทฤษฎีที่เกี่ยวข้องเข้ามาประยุกต์ใช้ ดังนั้นการที่จะเป็นนักวิชาการ หรือผู้เขียนผลงานทางวิชาการที่ดีได้ จำเป็นจะต้องเป็นนักอ่าน นักการศึกษาที่มีความเชี่ยวชาญหรือมีความรู้ความสามารถ หรือมีประสบการณ์ในสิ่งที่ตนเองเขียน จึงจะสามารถสะท้อนหลักการหรือต่อยอดองค์ความรู้ เผยแพร่ออกมาเป็นผลงานทางวิชาการที่มีคุณภาพได้

4. นำเสนอในสิ่งที่เข้าใจได้ง่าย

ผู้ผลิตผลงานทางวิชาการส่วนใหญ่จะมองข้ามในสิ่งที่เป็นประเด็นในเรื่องที่ว่าผู้อ่านส่วนใหญ่นั้น อาจจะไม่ใช่นักอ่านที่เป็นอยู่ในแวดวงวิชาการแต่เป็นนักอ่านทั่วไป ซึ่งคือประชาชนที่มีความสนใจในผลงานทางวิชาการในช่วงเริ่มต้น หรือเพื่อต้องการศึกษาในช่วงเริ่มต้นเท่านั้น

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ Thesis (ธีสิส) _การทำธีสิส_การสืบค้นข้อมูลงานวิจัย_งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_การตั้งหัวข้อวิจัย_เทคนิคตั้งหัวข้อวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_การเขียนบทความวิจัย_บทความวิจัย_ข้อห้ามงานวิจัย_ทำงานวิจัย_หัวข้อวิจัย การท่องเที่ยว_วิจัยหัวข้อ_ บทคัดย่องานวิจัย_Abtract งานวิจัย_งานทีสิส_วางแผนงานทีสิส_เขียนโครงร่างงานวิจัย_โครงร่างงานวิจัย_แปลบทความวิจัย_แปลงานวิจัย_เทคนิคแปลงานวิจัย_วางแผนงานวิจัย_เทคนิคทำงานวิจัย_เทคนิคการทำ IS_ผลงานวิชาการ

อาจจะกล่าวได้ว่านักวิชาการที่เผยแพร่ผลงานวิชาการนี้ ลืมตระหนักไปว่าผู้อ่านงานของตนนั้นควรที่จะเป็นบุคคลทั่วไปที่สามารถทำความเข้าใจเกี่ยวกับผลงานทางวิชาการได้

ดังนั้นวิธีการแก้ไขของการนำเสนอผลงานวิชาการที่ดี คือ การเขียนนำเสนอที่ผ่านการออกแบบให้มีความน่าสนใจ เช่น การนำเสนอในรูปแบบของอินโฟกราฟิก หรือการย่อสรุปเฉพาะประเด็นที่น่าสนใจ โดยเขียนนำเสนอให้เกิดความดึงดูดในการอ่าน ออกแบบผลงานวิชาการให้ดูเป็นเสมือนแมกกาซีน หรือหนังสือเล่มหนึ่งที่อยู่ในกระแส จะทำให้การเผยแพร่นำเสนอผลงานออกไปได้ในวงกว้าง 

การที่จะทำงานวิจัย ผลงานวิชาการถือเป็นสิ่งหนึ่งที่จำเป็นที่จะต้องประยุกต์ใช้ความรู้ศาตร์ และสาขาหลายแขนง เพื่อมาบูรณาการในการสร้างสรรค์ให้ออกมาอย่างมีคุณภาพตามที่กล่าวไปทั้งหมดเบื้องต้น

ช่องทางติดต่อ
Tel: 0924766638 คุณอาจุ้ย
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

 

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *