5 ทักษะ พัฒนาการทำงานวิจัยให้มีคุณภาพ

การทำงานวิจัย คือ การตั้งคำถามและการหาคำตอบให้กับคำถามอย่างมีหลักการ ด้วยวิธีการที่เป็นแบบแผน แต่คุณจะสามารถทำให้งานวิจัยของคุณมีคุณภาพได้อย่างไร 

ในบทความนี้เรามี 5 ทักษะ ที่จะสามารถช่วยพัฒนาการทำงานวิจัยของคุณมีประสิทธิภาพ และช่วยให้ผลงานวิจัยมีคุณมากยิ่งขึ้น

1. ทักษะในการสังเกต 

ข้อห้ามงานวิจัย_ทำงานวิจัย_หัวข้อวิจัย การท่องเที่ยว_วิจัยหัวข้อ_ บทคัดย่องานวิจัย_Abtract งานวิจัย_กรอบแนวคิดวิทยานิพนธ์_งานวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_ความล้มเหลวงานวิจัย_อาจารย์ที่ปรึกษา ปัญหา_อาจารย์ที่ปรึกวิจัย_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ Thesis_การทำ Thesis (ธีสิส)_การทำธีสิส_การสืบค้นข้อมูลงานวิจัย_งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_การตั้งหัวข้อวิจัย_เทคนิคตั้งหัวข้อวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_การเขียนบทความวิจัย_บทความวิจัย_ งานทีสิส_วางแผนงานทีสิส_เขียนโครงร่างงานวิจัย_โครงร่างงานวิจัย_แปลบทความวิจัย_แปลงานวิจัย_เทคนิคแปลงานวิจัย_วางแผนงานวิจัย_เทคนิคทำงานวิจัย_เทคนิคการทำ IS_ผลงานวิชาการ_Present งานวิจัย_ความล้มเหลวการทำวิจัย

เรามั่นใจว่าสมัยยังเป็นเด็กในวิชาวิทยาศาสตร์ คุณจะต้องเคยเรียนรู้เกี่ยวกับประวัตินักวิทยาศาสตร์บางท่านมาบ้างแล้ว อย่างเช่น เซอร์ ไอแซก นิวตัน ที่คิดค้นทฤษฎีแรงโน้มถ่วงของโลกจากเพียงแค่สังเกตเห็นแอปเปิ้ลตก  หรือ อาร์คิมิดิส ที่สามารถคิดค้นการวัดปริมาตรของวัตถุจากการที่เขาลงแช่น้ำ ซึ่งคุณจะเห็นว่าสิ่งที่นักวิทยาศาสตร์เหล่านี้มีเหมือนกันคือ การสังเกต 

การสังเกตจะช่วยคุณในการคิดหาหัวข้องานวิจัย รวมถึงจะช่วยคุณในการเก็บข้อมูลเพิ่มเติมที่จะสามารถนำมาใช้สนับสนุนแนวคิดของคุณได้

2. ทักษะในการค้นคว้าข้อมูล

สิ่งที่คุณไม่สามารถหลีกเลี่ยงในการทำงานวิจัยทุกชิ้นคือการค้นคว้าข้อมูล ดังนั้นนี่เป็นทักษะที่คุณจำเป็นจะต้องเรียนรู้ ไม่ว่าจะเป็นทั้งการค้นคว้าข้อมูลตามห้องสมุด การค้นคว้าข้อมูลผ่านสื่อออนไลน์ ไปจนถึงการตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูลที่จะนำมาใช้อ้างอิงในงานวิจัยของคุณด้วย 

ข้อห้ามงานวิจัย_ทำงานวิจัย_หัวข้อวิจัย การท่องเที่ยว_วิจัยหัวข้อ_ บทคัดย่องานวิจัย_Abtract งานวิจัย_กรอบแนวคิดวิทยานิพนธ์_งานวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_ความล้มเหลวงานวิจัย_อาจารย์ที่ปรึกษา ปัญหา_อาจารย์ที่ปรึกวิจัย_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ Thesis_การทำ Thesis (ธีสิส)_การทำธีสิส_การสืบค้นข้อมูลงานวิจัย_งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_การตั้งหัวข้อวิจัย_เทคนิคตั้งหัวข้อวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_การเขียนบทความวิจัย_บทความวิจัย_ งานทีสิส_วางแผนงานทีสิส_เขียนโครงร่างงานวิจัย_โครงร่างงานวิจัย_แปลบทความวิจัย_แปลงานวิจัย_เทคนิคแปลงานวิจัย_วางแผนงานวิจัย_เทคนิคทำงานวิจัย_เทคนิคการทำ IS_ผลงานวิชาการ_Present งานวิจัย_ความล้มเหลวการทำวิจัย

การค้นคว้าข้อมูลจะสามารถช่วยคุณในการสร้างความรู้ใหม่ๆ ไม่ใช่เฉพาะแค่การทำวิจัยของคุณเท่านั้น แต่หากคุณมีการฝึกฝนทักษะในการค้นคว้าข้อมูลอยู่เรื่อยๆ นั่นจะทำให้คุณสามารถนำไปใช้ในการจัดการกับปัญหาต่างๆ รวมถึงการวางแผนงาน และเปิดโอกาสในการประกอบอาชีพ

3. ทักษะในการคิดวิเคราะห์

ทักษะในการคิดวิเคราะห์ จะเป็นบทพิสูจน์ความรู้ความสามารถที่คุณมี หรือจากที่คุณได้เรียนรู้มาแล้ว เพราะทักษะในการคิดวิเคราะห์สำหรับการทำงานวิจัยนั้น คุณจะต้องมีการคิดวิเคราะห์อย่างมีแบบแผนตามหลักวิทยาศาสตร์ รวมถึงคุณจะต้องมีการใช้ข้อมูลของผู้เชี่ยวชาญในการอ้างอิงในงานวิจัยของคุณด้วยประกอบด้วย 

ข้อห้ามงานวิจัย_ทำงานวิจัย_หัวข้อวิจัย การท่องเที่ยว_วิจัยหัวข้อ_ บทคัดย่องานวิจัย_Abtract งานวิจัย_กรอบแนวคิดวิทยานิพนธ์_งานวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_ความล้มเหลวงานวิจัย_อาจารย์ที่ปรึกษา ปัญหา_อาจารย์ที่ปรึกวิจัย_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ Thesis_การทำ Thesis (ธีสิส)_การทำธีสิส_การสืบค้นข้อมูลงานวิจัย_งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_การตั้งหัวข้อวิจัย_เทคนิคตั้งหัวข้อวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_การเขียนบทความวิจัย_บทความวิจัย_ งานทีสิส_วางแผนงานทีสิส_เขียนโครงร่างงานวิจัย_โครงร่างงานวิจัย_แปลบทความวิจัย_แปลงานวิจัย_เทคนิคแปลงานวิจัย_วางแผนงานวิจัย_เทคนิคทำงานวิจัย_เทคนิคการทำ IS_ผลงานวิชาการ_Present งานวิจัย_ความล้มเหลวการทำวิจัย

ดังนั้นทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลไม่ได้หมายถึงเฉพาะการที่คุณต้องทำการวิเคราะห์ผลการวิจัยของคุณ ให้ออกมาอย่าถูกต้องและแม่นยำแล้ว แต่คุณจะต้องมีการวิเคราะห์ข้อมูลงานวิจัย หรือบทความจากแหล่งอื่นๆ เพื่อคุณจะสามารถนำมาใช้อ้างอิงในการสนับสนุนแนวคิดของคุณได้ เราปฏิเสธไม่ได้เลยใช่ไหมว่าทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลถือเป็นสิ่งที่สำคัญสำหรับการทำวิจัยของคุณเป็นอย่างยิ่ง

4. ทักษะในการเขียน

การเขียนงานวิจัย คือการจดบันทึกทางวิชาการ ที่ได้อธิบายหลักการและเหตุผล รวมถึงขั้นตอน วิธีการในการวิจัย ไปจนถึงผลที่ได้จากวิจัย เพื่อให้ผู้ที่อ่านงานวิจัยของคุณ สามารถเข้าใจวัตถุประสงค์ แนวความคิด ที่จะสามารถนำไปใช้ต่อยอดได้ อีกทั้งการเขียนงานวิจัยยังเป็นเหมือนการเผยแพร่การค้นคว้า และความรู้ใหม่ของคุณจากการทำงานวิจัยต่อสาธารณะด้วย

ข้อห้ามงานวิจัย_ทำงานวิจัย_หัวข้อวิจัย การท่องเที่ยว_วิจัยหัวข้อ_ บทคัดย่องานวิจัย_Abtract งานวิจัย_กรอบแนวคิดวิทยานิพนธ์_งานวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_ความล้มเหลวงานวิจัย_อาจารย์ที่ปรึกษา ปัญหา_อาจารย์ที่ปรึกวิจัย_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ Thesis_การทำ Thesis (ธีสิส)_การทำธีสิส_การสืบค้นข้อมูลงานวิจัย_งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_การตั้งหัวข้อวิจัย_เทคนิคตั้งหัวข้อวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_การเขียนบทความวิจัย_บทความวิจัย_ งานทีสิส_วางแผนงานทีสิส_เขียนโครงร่างงานวิจัย_โครงร่างงานวิจัย_แปลบทความวิจัย_แปลงานวิจัย_เทคนิคแปลงานวิจัย_วางแผนงานวิจัย_เทคนิคทำงานวิจัย_เทคนิคการทำ IS_ผลงานวิชาการ_Present งานวิจัย_ความล้มเหลวการทำวิจัย

ดังนั้นในการเขียนงานวิจัย นอกจากจะต้องมีกระบวนการในการเขียนที่ถูกต้องตามรูปแบบแล้ว คุณจะต้องนึกถึงผู้อ่านเป็นสำคัญ ผลงานวิจัยของคุณจะต้องอ่านและเข้าใจได้ง่าย หรือไม่ใช้ภาษาที่เป็นทางการมากเกินไป จนทำให้ผู้อ่านเกิดความสับสน คุณจะต้องเรียนรู้ และใช้ทักษะในการเขียน รวมถึงเลือกวิธีการเขียนให้ถูกต้อง

เช่น การเขียนเพื่อโน้มน้าวในส่วนที่คุณต้องการให้ผู้อ่านเห็นด้วยกับแนวคิดของคุณ หรือการเขียนแบบพรรณนาเมื่อต้องการอธิบายหลักการและเหตุผล เป็นต้น 

5. ทักษะในการนำเสนอข้อมูล

เพราะสุดท้ายแล้วคุณจะต้องมีการนำเสนอข้อมูล ผลการวิจัยของคุณต่ออาจารย์ที่ปรึกษาและคณะกรรมการ ดังนั้น คุณควรจะต้องมีการเรียนรู้ทักษะในการพูด หรือการถ่ายทอดความรู้ที่คุณได้ต่อผู้อื่นด้วย นั่นรวมถึงการทำ Presentation ด้วยโปรแกรม Power Point หรือโปรแกรมอื่นๆ ที่คุณถนัด

ข้อห้ามงานวิจัย_ทำงานวิจัย_หัวข้อวิจัย การท่องเที่ยว_วิจัยหัวข้อ_ บทคัดย่องานวิจัย_Abtract งานวิจัย_กรอบแนวคิดวิทยานิพนธ์_งานวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_ความล้มเหลวงานวิจัย_อาจารย์ที่ปรึกษา ปัญหา_อาจารย์ที่ปรึกวิจัย_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ Thesis_การทำ Thesis (ธีสิส)_การทำธีสิส_การสืบค้นข้อมูลงานวิจัย_งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_การตั้งหัวข้อวิจัย_เทคนิคตั้งหัวข้อวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_การเขียนบทความวิจัย_บทความวิจัย_ งานทีสิส_วางแผนงานทีสิส_เขียนโครงร่างงานวิจัย_โครงร่างงานวิจัย_แปลบทความวิจัย_แปลงานวิจัย_เทคนิคแปลงานวิจัย_วางแผนงานวิจัย_เทคนิคทำงานวิจัย_เทคนิคการทำ IS_ผลงานวิชาการ_Present งานวิจัย_ความล้มเหลวการทำวิจัย

การนำเสนอข้อมูลวิจัย ก็เหมือนกับการที่คุณต้องอธิบายผลงานทางวิชาการของคุณ เพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจและเข้าถึงงานวิจัยของคุณอีกวิธีหนึ่งนอกจากการเขียน ซึ่งแน่นอนว่าการนำเสนอผลงานทางด้านวิชาการไม่ได้เป็นเรื่องที่ง่าย ยิ่งคุณไม่ได้เป็นผู้ที่มีความเชี่ยวชาญที่ผู้อื่นยอมรับด้วยแล้วนั่นจะยิ่งทำให้การนำเสนอของคุณยากขึ้นไปอีก

การนำเสนองานวิจัยของคุณจะต้องดูน่าเชื่อถือ ชัดเจน และมีความมั่นใจในข้อมูลที่เกี่ยวกับหัวข้อของคุณ เพื่อแสดงให้เห็นว่าคุณได้ทำการค้นคว้า ทดลอง และมีการสรุปผลมาเป็นอย่างดีแล้ว นั่นจะทำให้ผู้ฟังรู้สึกเชื่อมั่นและคล้อยตามสิ่งที่คุณกำลังนำเสนอได้ดียิ่งขึ้น

ด้วยทักษะการทำงานวิจัยทั้ง 5 ข้อ ที่เราได้กล่าวมานั้น แม้จะฟังดูยาก แต่ในในความเป็นจริงแล้วคุณสามารถทำสิ่งเหล่านั้นได้ง่ายๆ แค่เพียงคุณจะต้องมีการฝึกฝน เรียนรู้ และลงมือทำอย่างสม่ำเสมอ

ช่องทางติดต่อ
Tel: 0924766638 คุณอาจุ้ย
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *