3 แนวทางในการทำดุษฎีนิพนธ์ให้เป็นเรื่องง่าย

หลายท่านที่เป็นนักศึกษาหรือผู้วิจัยในระดับปริญญาเอกนั้น จะมีคำถามเกี่ยวกับการทำดุษฎีนิพนธ์ว่ามีขั้นตอนอย่างไรให้จบง่ายที่สุด เพราะการที่จะแสดงผลของความรู้ ความสามารถในการที่จะเป็นดุษฎีบัณฑิตได้นั้น จำเป็นที่จะต้องมีการต่อยอดหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่ที่สะท้อนออกมาจากการทำดุษฎีนิพนธ์

ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่าตัวเล่มดุษฎีนิพนธ์นั้นเป็นสิ่งที่จะสะท้อนถึงองค์ความรู้ของผู้วิจัย ซึ่งจำเป็นที่จะต้องต่อยอดความรู้ในสาขาวิชาที่ตนเองเชี่ยวชาญ ซึ่งสิ่งที่จะทำให้ดุษฎีนิพนธ์ของท่านนั้นกลายเป็นเรื่องง่าย มีดังต่อไปนี้

1. คิดถึงรูปแบบของการวิจัยก่อน

หลายครั้งที่ผู้วิจัยมักจะคิดว่าควรจะศึกษาประเด็นไหน อย่างไรก่อนในการทำดุษฎีนิพนธ์ แต่สิ่งที่อยากจะแนะนำคือ ควรจะนึกถึงรูปแบบของการวิจัยก่อน เพราะว่ารูปแบบของการวิจัยเป็นสิ่งที่จะสะท้อนว่าผู้วิจัยนั้นถนัดรูปแบบไหน อย่างไร และรูปแบบการวิจัยที่ถนัดจะสามารถสะท้อนความสามารถของผู้วิจัยได้อย่างเต็มประสิทธิภาพมากกว่า

ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_ความล้มเหลวงานวิจัย_อาจารย์ที่ปรึกษา ปัญหา_อาจารย์ที่ปรึกวิจัย_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ Thesis (ธีสิส) _การทำธีสิส_การทำทีสิส_การสืบค้นข้อมูลงานวิจัย_งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_การตั้งหัวข้อวิจัย_เทคนิคตั้งหัวข้อวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_การเขียนบทความวิจัย_บทความวิจัย_ข้อห้ามงานวิจัย

ในการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น การทำงานวิจัยแบบเชิงปริมาณที่มีประสิทธิภาพ อาจจะได้ประโยชน์จากการวิจัยที่มีการต่อยอดองค์ความรู้ หรือสะท้อนองค์ความรู้ของผู้วิจัยได้มากกว่าทำสิ่งที่ไม่ถนัดในรูปแบบการวิจัยที่ไม่เชี่ยวชาญ ดังนั้นการคิดถึงรูปแบบของการวิจัยในการทำดุษฎีนิพนธ์ก่อนนั้นถือเป็นสิ่งสำคัญที่ควรตระหนักถึงก่อนปัญหาของการวิจัย

2. คิดถึงกลุ่มตัวอย่างที่จะทำการศึกษา

กว่าจะมาถึงการทำดุษฎีนิพนธ์นั้นท่านต้องผ่านการทำวิจัยมาแล้วไม่ต่ำกว่า 2 เล่มจากการศึกษาในระดับปริญญาตรี และระดับปริญญาโท เพียงแต่ว่าหลายท่านอาจจะไม่ทันได้คิดว่ากลุ่มตัวอย่างในปัจจุบันนั้นมีความเปลี่ยนแปลงไปจากในอดีต 

ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_ความล้มเหลวงานวิจัย_อาจารย์ที่ปรึกษา ปัญหา_อาจารย์ที่ปรึกวิจัย_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ Thesis (ธีสิส) _การทำธีสิส_การทำทีสิส_การสืบค้นข้อมูลงานวิจัย_งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_การตั้งหัวข้อวิจัย_เทคนิคตั้งหัวข้อวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_การเขียนบทความวิจัย_บทความวิจัย_ข้อห้ามงานวิจัย

เนื่องจากว่าปัจจุบันนั้นมีเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการเข้าถึงกลุ่มตัวอย่างที่หลากหลาย และกลุ่มตัวอย่างที่เป็นแบบ niche หรือที่เป็นกลุ่มตลาดจำเพาะนั้นสามารถที่จะให้ข้อมูลที่อาจจะแตกต่างจากผลการวิจัยที่มีอยู่แล้วในอดีต ซึ่งมีความเฉพาะเจาะจงที่แตกต่างจากกลุ่ม mass ที่เป็นกลุ่มมวลชนระดับใหญ่ได้

การศึกษากับกลุ่มตัวอย่างที่มีความเฉพาะเจาะจงจะทำให้ท่านเข้าใจถึงพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงไปจากอดีตถึงในปัจจุบันได้ ดังนั้นอาจจะกล่าวได้ว่าการทำดุษฎีนิพนธ์นั้นควรจะนึกถึงกลุ่มตัวอย่างที่เฉพาะเจาะจง และต้องคำนึงถึงเรื่องของการใช้เครื่องมือหรือช่องทางที่จะเข้าถึงกลุ่มตัวอย่างนั้นเช่นกัน

3 คิดถึงอาจารย์ที่ปรึกษาวิจัยด้วย

ในการทำดุษฎีนิพนธ์นั้นหลายท่านอาจจะมีปัญหาในการปรึกษางานกับอาจารย์ที่ปรึกษาวิจัย เนื่องจากอาจารย์ที่ปรึกษาวิจัยในระดับดุษฎีนิพนธ์นั้นส่วนใหญ่แล้วจะไม่ค่อยมีเวลาในการที่จะให้คำปรึกษา เพราะว่าด้วยประสบการณ์และวัยวุฒิส่วนใหญ่แล้วจะมีภาระงานที่มากกว่าอาจารย์ท่านอื่นๆ ในสาขาวิชา และอาจารย์ที่ปรึกษาในระดับดุษฎีบัณฑิตนั้นจำเป็นจะต้องมีวัยวุฒิและประสบการณ์ที่สูงมากที่สุดในสาขาวิชา เพื่อที่จะสามารถให้คำแนะนำการวิจัยดุษฎีนิพนธ์ของท่านได้

ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_ความล้มเหลวงานวิจัย_อาจารย์ที่ปรึกษา ปัญหา_อาจารย์ที่ปรึกวิจัย_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ Thesis (ธีสิส) _การทำธีสิส_การทำทีสิส_การสืบค้นข้อมูลงานวิจัย_งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_การตั้งหัวข้อวิจัย_เทคนิคตั้งหัวข้อวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_การเขียนบทความวิจัย_บทความวิจัย_ข้อห้ามงานวิจัย

ดังนั้นอาจจะกล่าวได้ว่าภาระงานของอาจารย์ที่ปรึกษาของนักศึกษาระดับดุษฎีนิพนธ์นั้นเป็นสิ่งที่จะทำให้เกิดอุปสรรคในการประสานงานได้ วิธีการแก้ไขคือ หากท่านได้รับการแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษาวิจัยที่ชัดเจนจากทางสาขาแล้ว การเข้าพบเพื่อวางแผนการทำงานร่วมกันถือเป็นสิ่งที่จำเป็นที่จะต้องดำเนินการตั้งแต่ต้น เพราะจะทำให้อาจารย์ที่ปรึกษาวิจัยของท่านรู้ว่าควรจะวางแผนภาระงานของตนเองอย่างไรเพื่อที่จะมีเวลาให้คำปรึกษากับเล่มดุษฎีนิพนธ์ของท่าน

วิธีการที่ถูกต้องและมีประสิทธิภาพที่สุดคือ การคำนึงถึงรูปแบบของการวิจัยและกลุ่มตัวอย่างที่จะทำการศึกษา หลังจากนั้นท่านควรที่จะเข้าพบและขอความร่วมมือในการวางแผนการทำงานร่วมกันกับอาจารย์ที่ปรึกษาวิจัยของท่าน เพื่อที่จะทำให้ดุษฎีนิพนธ์นั้นเป็นไปตามแผนงานที่ท่านได้กำหนดไว้ร่วมกัน และสามารถประสานงานกันได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น

ช่องทางติดต่อ
Tel: 0924766638 คุณอาจุ้ย
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

Leave a Comment

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *

Scroll to Top